กฎหมาย ของประเทศเเต่ละจังหวัดจะใช้กฎหมายฉบับเดียวกันตามที่รัฐธรรมนูญไทยเขียนไว้ว่ารัฐไทยเป็นรัฐๆเดี่ยวจะเเบ่งเเยกไม่ได้เเต่ที่ดินจังหวัดภูเก็ตใช้กฎหมายคนละฉบับกับที่ดินทั่วประเทศ
คนจนเวลาไม่ได้รับความเป็นธรรม มันจุกอกหายใจไม่ออก เฝ้าถามตัวเองว่าเพราะเกิดมาจน จึงไม่ได้รับความเป็นธรรม
ข้าพเจ้าด้วยความน้อยเนื้อตํ่าใจในวาสนาที่ฝันว่าจะได้มีโฉนดจากที่ดินที่ทํามาหากินมาด้วยความสุจริตเเละยังอุทิศที่ผ่ากลางที่ให้เป็นทางสาธารณะด้วยใจที่เห็นใจเพื่อนมนุษย์ด้วยกันข้าพเจ้ายังมีกําลังใจเพราะข้าพเจ้าเชี่อในกรรม ดีที่ทํามาตลอดเเละข้าพเจ้าเชื่อโดยสุจริตว่าที่ดินของข้าพเจ้าไม่ติดที่ป่าหรือที่รกร้าง ข้าพเจ้าจึงขอวิงวอนเเละขอถามท่านนายกว่า ทำไมถึงมีการรับรองเเนวเขตครบทุกด้านรวมถึงผู้ว่าราชการจังหวัดตั้งคณะกรรมการ ตามกฎกระทรวงฉบับที่43 มีมติว่า สค 1 ถูกต้อง ออกให้ผู้ขอ ได้เต็มเเปลงเเละที่ดินข้างเคียงไม่เป็นที่หลวงหวงห้ามเเต่อย่างใดและข้าพเจ้าไม่เข้าใจเหมือนกันว่า ประกาศครบ30วันไม่มีผู้ใดโต้เเย้งคัดค้านเมื่อเจ้าพนักงานที่ดิน พิสูจน์ไม่ได้ว่าสค1 จดที่ว่างเปล่าทําไม.ข้าพเจ้าต้องกันระยะที่ดินออกไป5ไร่ทั้งที่ข้าพเจ้าไม่ได้ทําผิด..และหากเจ้าหน้าที่ที่ดินเชื่อว่าสค1-ของข้าพเจ้าจดป่า ทําไมถึงออกประกาศ 30 วันไม่มีผู้โต้เเย้งสิทธิซึ้งเป็นขั้นตอนสุดท้ายก่อนออกโฉนด

ซึ้งตามกฎหมาย ในเมื่อข้างเคียงมิได้ใช้สิทธิ์คัดค้านนำชี้เขตหรือนำรังวัดหรือให้ถ้อยคำต่าง ๆก็ต้องพิจารณาว่ามีกฏหมายหรือระเบียบให้อำนาจพนักงานเจ้าหน้าที่ดำเนินการอย่างไรหรือไม่ซึ่งก็คือตามนัยดังกล่าว

ระวางแผนที่เพื่อการออกโฉนดที่ดินเเปลงนี้




Item Thumbnailบั

ระวางแผนที่เพื่อการออกโฉนดที่ดินเเปลงนี้ บันทึกข้างเคียงเปลี่ยนเเปลง( ทด 16) ดูเอกสาร

ตามข้อ15(1)เเละ(2)ตามกฎกระทรวง ฉบับที่43 2537ออกตามพระราชบัญญัติให้ใช้ประมาลกฎหมายที่ดินพศ2497เเละข้อ6วรรคหนึ่งของระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรังวัดปลักหลักหมายเขตที่ดินพศ2527


โฉนดที่ดิน สีส้ม มีถนนตรงกลางข้าพอุทิศให้เป็นทางสาธรณะ

สีฟ้า ช้างเคียงโดยรอบ ในสค1 เขียนว่า


ชึ้งใน สค 1ระบุว่า ทิศเหนือจด ที่ดินว่างเปล่า ปัจุบัน ข้อเท็จจริง ได้ออก นส 3 ก

ใน สค 1ระบุ ทิศใต้จด ที่ดินว่างเปล่า ปัจุบัน ข้อเท็จจริง ที่ครอบครอง นาย รัตน์ ดูเอกสาร

ใน สค 1ระบุ ทิศตะวันออก จด ที่ดินนายไข่ ไชยศรี

ปัจุบัน ข้อเท็จจริง จด ที่ดินนายไข่ ไชยศรี

ใน สค 1ทิศตะวันตกจด ที่ดินว่างเปล่า ปัจุบัน ข้อเท็จจริง ที่ครอบครอง นางพรวิไล


ขั้นตอนการออกโฉนดที่ดินเฉพาะราย

1. รับบัตรคิวจากประชาสัมพันธ์
2.ชี้ระวางแผนที่
3. รับคำขอ สอบสวน ชำระเงินค่าธรรมเนียม
4. ฝ่ายรังวัดดำเนินการ นัดทำการรังวัด กำหนดตัวช่างรังวัด
5. ค้นหารายชื่อเจ้าของที่ดินข้างเคียง และพิมพ์หมายข้างเคียง

6. รับหมายแจ้งเจ้าของที่ดินข้างเคียง วางเงินมัดจำรังวัดรับหลักเขตที่ดิน

ข้างเคียงลงชื่อรับรองเเนวเขตครบทุกด้านถูกต้องดูเอกสาร รับรองสําเนาถูกต้องโดยที่ดิน

7. ช่างรังวัดออกไปทำการรังวัด พิสูจน์สอบสวนการทำประโยชน์ที่ดิน

8. คำนวณเนื้อที่ และเขียนรูปแผนที่โฉนดที่ดิน
9. เจ้าพนักงานที่ดินประกาศการแจกโฉนดที่ดิน 30 วัน

ประกาศครบ30วัน ไม่มีผู้ใดโต้เเย้งคัดค้าน

10. ประกาศแจกที่ดินให้ปิดในที่เปิดเผย ณ สำนักงานที่ดินท้องที่ สำนักงานเขตหรือที่ว่าการอำเภอ หรือที่ว่าการกิ่งอำเภอท้องที่ ที่ทำการแขวงหรือที่ทำการกำนันท้องที่และในบริเวณที่ดินนั้นแห่งละหนึ่งฉบับ ในเขตเทศบาลให้ปิดไว้ ณ สำนักงานเทศบาลอีกหนึ่งฉบับ

ประกาศครบ30วัน ไม่มีผู้ใดโต้เเย้งคัดค้าน

11. เสนอเรื่องขออนุมัติผู้ว่าราชการจังหวัด กรณีขอออกโฉนดที่ดินโดยมิได้แจ้งการครอบครองหรือกรณีเนื้อที่เกิน 50 ไร่ ตามมาตรา 59 ทวิ แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน

ที่เเปลงนี้มีสค1
12. ส่งเรื่องให้คณะกรรมการตามกฎกระทรวงฉบับที่ 43 ตรวจสอบกรณีที่ดินอยู่ในเขตป่าไม้

คณะกรรมการตามกฎกระทรวงฉบับที่43 สค 1 ถูกต้อง ออกให้ผู้ขอ ได้เต็มเเปลง ดูเอกสาร

-ป่าไม้รับรองไม่ติดอยู่ในเขตป่าไม้ถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี ดูเอกสาร ทั้งนี้ ไม่ปรากฏข้อเท็จจริงในหนังสือดังกล่าวว่าเจ้าหน้าที่ป่าไม้หรือผู้ใดโต้แย้งสิทธิในที่ดินถ้าข้อเท็จจริงจดป่าป่าไม้ละเว้นการปฎิบัติหน้าที่โดน157เพราะไม่โต้เเย้งสิทธิเเละเป็นหนึ่งในคณะ-

กรรมการตามกฎกระทรวงตามกฎ43ที่ลงมติรับรองที่เเปลงนี้

ที่ดินว่างเปล่าทางทิศ เหนือ ทิศใต้ เเละทิศตะวันตกซึ้งปรากฎในสค1 เเปลงนี้ ได้รับการรับรองจากผู้ปกครองท้องที่เเล้วว่าไม่เป็นที่ห่วงห้ามประเภทใดทั้งสิ้น

-มีการปักหมุดเขตเเน่นอนเเล้ว


13. เสนอเจ้าพนักงานที่ดินลงนามออกโฉนดที่ดินให้แก่ผู้ขอและแจ้งเจ้าของที่ดินมารับโฉนด

เเต่กลับออกคําสั่งให้กับผู้ขอ

"ห้ถือระยะที่ปรากฎในหลักฐานการเเจ้งการครอบครองเป็นหลักในการออกโฉนด" โดยอ้างเหตุ

สค1 จดที่รกร้างว่างเปล่าก็ต้องถือระเบียบคณะกรรมการจัดที่ดินเเห่งชาติฉบับที่ 12 ข้อ 10 ในกรณีที่ดินนั้นมีด้านหนึ่งด้านใดหรือหลายด้านจดที่ป่าหรือที่รกร้างว่างเปล่าเเละระยะที่วัดได้เกินกว่าระยะที่ปรากฎในหลักฐานเเจ้งการครอบครองให้ถือระยะที่ปรากฎในหลักฐานการเเจ้งการครอบครองเป็นหลักในการออกโฉนด

คําสั่งข้างตีนนี้ ถ้าผู้ปฎิบัติที่มีหน้าที่ต้องเข้าใจถึงขั้นตอนเเละระเบียบปฎิบัติของกฎหมายว่าอยู่ในขั้นตอนใหน ซึ้งเป็นขั้นตอนที่ปฎิบัติตามหน้าที่ตามที่กรมที่ดินใช้มานานเเล้วไม่ใช้ระเบียบใหม่ซึ้งกรมที่ดินได้ออกระเบียบลดขั้นตอนเพื่อให้ข้าราชการของกรมที่ดินได้บริการประชาชนให้ได้รับความสะดวกกรมคงเห็นว่า ขั้นตอนที่มีอยู่นั้นท็าให้การปฏิบัคิหน้าที่งานล่าช้า เเต่ก็เกิดคําถาม ว่ากรมที่ดินสํานักมาตราฐาน มีต๋าตอบให้ประชาชนว่าเเนวทางใหนที่ใช้ในการปฏิบัติงานที่ใช้กัน


ระเบียบกรมที่ดิน ว่าด้วยการปฏิบัติราชการเพื่อประชาชน พ.ศ. 2542 และประกาศกรมที่ดินเรื่องการลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการเพื่อประชาชน ลงวันที่ 15 กันยายน 2547

ระเบียบกรมที่ดินว่าด้วยการปฏิบัติราชการเพื่อประชาชน พ.ศ. 2542 ออกโดยอาศัยอำนาจตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการปฏิบัติราชการเพื่อประชาชนของหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2532 ซึ่งปัจจุบันระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ยกเลิกระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีบางฉบับ พ.ศ. 2546 เมื่อวันที่ 14 มกราคม 2546 ต่อมาคณะรัฐมนตรีได้มีมติในการประชุม เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2546 ให้ส่วนราชการดำเนินการลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ เพื่อประชาชนลง 30-50% จากที่กำหนดไว้ในปัจจุบัน ดังนั้น เพื่อเป็นการพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการประชาชน ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2546 และสอดคล้องตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 กรมที่ดินจึงได้ออกประกาศกรมที่ดิน เรื่อง การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการเพื่อประชาชน เมื่อวันที่ 15 กันยายน 2547 เพื่อปรับปรุงวิธีการปฏิบัติงาน และให้บริการของกรมที่ดินมีความสะดวก รวดเร็ว และตอบสนองความต้องการของประชาชน สำหรับรายละเอียดของระเบียบกรมที่ดิน ว่าด้วยการปฏิบัติราชการ เพื่อประชาชน พ.ศ. 2542 ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี และประกาศกรมที่ดิน เรื่อง การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ เพื่อประชาชนเมื่อวันที่ 15 กันยายน 2547

ตอบโดย ศูนย์ส่งเสริมประสิทธิภาพกรมที่ดิน ราชการบริหารส่วนกลาง

14. แจกโฉนดที่ดินให้ผู้ขอ

ขั้นตอนสุดท้ายข้อ14ประชาชนจึงไม่ต้องการมาออกโฉนดกันโดยความจริงใครบ้างไม่ต้องการออกโฉนด




---------------------------------------------------------------


นายกฯประกาศเชิญชวนประชาชนทุกคนทุกฝ่าย

ร่วมเดินหน้าปฏิรูประเทศไทย" ย้ำรับฟังทุกเสียง-ทุกความคิด


วันนี้ประเทศไทยต้องเดินหน้า แต่ความโกรธ ความเคียดแค้นและความชิงชัง ไม่สามารถสร้างอนาคตให้ประเทศไทยและลูกหลานไทยได้ ถึงเวลาแล้วที่เราจะปรองดองเพื่อปฏิรูปประเทศไทย รวมใจเป็นหนึ่งเพื่อปกป้องสถาบันหลักของชาติ สร้างความเสมอภาค สื่อสารถึงกันอย่างสร้างสรรค์ ค้นหาและยอมรับความจริง โดยมีการเมืองที่เป็นประชาธิปไตย มีประสิทธิภาพและโปร่งใส


เรียนท่านนายกรัฐมนตรี


เรี่อง ขอความเป็นธรรม

ข้าพเจ้านําสค1ที่ระบุระยะจดที่รกร้างว่างเปล่าทั้ง3ด้านเเละถ้าข้อเท็จจริง จดป่าหรือที่ว่างเปล่าจริงตามที่ทางที่ดินจังหวัดม ีหนังสือถึงข้าพเจ้า

โดยมีใจความว่า

"ฝ่ายทะเบียนพิจรณาเเล้ว กรณึสค1 มีข้างเคียงด้านหนี่งด้านใด หรือหลายด้านจดป่าหรือจดที่ดินรกร้างว่างเปล่า โดยใช้ระเบียบคณะกรรมการจัดที่ดินเเห่งชาติฉบับที่12พศ (2532)ข้อ10 ได้กําหนดให้พนักงานเจ้าหน้าที่ออกโฉนดที่ดินให้ตามระยะที่ปรากฎในสค1เท่านั้น "เอกสารประกอบ


การที่ข้าพเจ้าได้ขอออกโฉนดโดยอาศัยหลักฐาน สค 1 ถ้าปรากฏว่าเนื้อที่ที่ทำการรังวัดใหม่แตกต่างไปจากเนื้อที่ตามใบแจ้งการครอบครอง (สค1) จะต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามประมวลกฎหมายที่ดิน (. 2497) มาตรา ๕๙ ตรี ในการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ ถ้าปรากฏว่าเนื้อที่ที่ทำการรังวัดใหม่แตกต่างไปจากเนื้อที่ตามใบแจ้งการครอบครองตามมาตรา แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน ..๒๔๙๗ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่พิจารณาออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินให้ได้เท่าจำนวนเนื้อที่ที่ได้ทำประโยชน์ ทั้งนี้ตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด รวมถึง


ข้าพเจ้าด้วยความน้อยเนื้อตํ่าใจในวาสนาที่ฝันว่าจะได้มีโฉนดจากที่ดินที่ทํามาหากินมาด้วยความสุตริตเเละยังอุทิศที่ผ่ากลางที่ให้เป็นทางสาธารณะด้วยใจที่เห็นใจเพื่อนมนุษย์ด้วยกันข้าพเจ้ายังมีกําลังใจเพราะข้าพเจ้าเชี่อในกรรม ดีที่ทํามาตลอด

เเละข้าพเจ้าเชื่อโดยสุจริตว่าที่ดินของข้าพเจ้าไม่ติดที่ป่าหรือที่รกร้าง ข้าพเจ้าจึงขอวิงวอนเเละขอถามท่านนายกว่า ทำไมถึงมีการรับรองเเนวเขตครบทุกด้านรวมถึงผู้ว่าราชการจังหวัดตั้งคณะกรรมการ ตามกฎกระทรวงฉบับที่43 มีมติว่า สค 1 ถูกต้อง ออกให้ผู้ขอ ได้เต็มเเปลงเเละที่ดินข้างเคียงไม่เป็นที่หลวงหวงห้ามเเต่อย่างใด และข้าพเจ้าไม่เข้าใจเหมือนกันว่า ประกาศครบ30วัน ไม่มีผู้ใดโต้เเย้งคัดค้านเมื่อเจ้าพนักงานที่ดิน พิสูจน์ไม่ได้ว่าสค1 จดที่ว่างเปล่าทําไม.ข้าพเจ้าต้องกันระยะที่ดินออกไป5ไร่ทั้งที่ข้าพเจ้าไม่ได้ทําผิด..และหากเจ้าหน้าที่ที่ดินเชื่อว่าสค1-ของข้าพเจ้าจดป่า ทําไมถึงออกประกาศ 30 วันไม่มีผู้โต้เเย้งสิทธิซึ้งเป็นขั้นตอนสุดท้ายก่อนออกโฉนดที่ิ ดินเเละที่สําคัญ ก็ต้องเเจ้งความดําเนินคดีกับ คณะกรรมการตามกฎกระทรวงฉบับที่43 ที่ีมีต้วเเทนที่ดินจังหวัด ร่วมอยู่ด้วย ในข้อหา ปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ เเ ละเว้นการปฎิบัติหน้าที่ (ม 157)เพราะที่ดินเชื่อว่าสค1เเปลงนี้จดที่ว่างเปล่าช้าพเจ้าไม่ต้องการเอาผิดกับใครเพราะทุกคนก็มีครอบครัวที่ต้องดูเเลเเต่ไม่อยากให้คนอื่นๆต้องมาเจอปัญหาเช่นนี้คนจนเวลาไม่ได้รับความเป็นธรรม มันจุกอกหายใจไม่ออก เฝ้าถามตัวเองว่าเพราะเกืดมาจน จึงไม่ได้รับความเป็นธรรมเห็นชัดว่าถูกเเต่ทําอะไรไม่ได้ หรือว่านี้คือปัญหาที่ได้ยินตามวิทยุว่า

ปฏิรูปประเทศไทยร่วมกันเเก้ไขจะได้ปฏิบัติเป็นมาตราฐานเดียวกัน


ด้วยความเคารพอย่างสูง

จรัญ หนูพู่

ขอความเป็นธรรมขั้นพี้นฐาน





ตามระเบียบของคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2532) ว่าด้วยเงื่อนไขการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ หมวด 2 ข้อ 10. บัญญัติไว้ว่า "ในกรณีที่ที่ดินนั้นมีด้านหนึ่งด้านใดหรือหลายด้านจดที่ป่าหรือที่รกร้างว่างเปล่า และระยะที่วัดได้เกินกว่าระยะที่ปรากฏในหลักฐานการแจ้งการครอบครอง ให้ถือระยะที่ปรากฏในหลักฐานการแจ้งการครอบครองเป็นหลักในการออกโฉนดหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์"

ส่วนข้อ 8. วรรคสองบัญญัติไว้ว่า "ในกรณีที่ระยะของแนวเขตที่ดินผิดพลาดคลาดเคลื่อน ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์เท่าจำนวนเนื้อที่ที่ได้ทำประโยชน์แล้ว เมื่อผู้มีสิทธิในที่ดินข้างเคียงได้ลงชื่อรับรองแนวเขตไว้เป็นการถู

ประชาชนจึงมีคําถาม


"ห้ถือระยะที่ปรากฎในหลักฐานการเเจ้งการครอบครองเป็นหลักในการออกโฉนด" โดยอ้างเหตุ

สค1 จดที่รกร้างว่างเปล่าก็ต้องถือระเบียบคณะกรรมการจัดที่ดินเเห่งชาติฉบับที่ 12 ข้อ 10 ในกรณีที่ดินนั้นมีด้านหนึ่งด้านใดหรือหลายด้านจดที่ป่าหรือที่รกร้างว่างเปล่าเเละระยะที่วัดได้เกินกว่าระยะที่ปรากฎในหลักฐานเเจ้งการครอบครองให้ถือระยะที่ปรากฎในหลักฐานการเเจ้งการครอบครองเป็นหลักในการออกโฉนด ถือว่าเจ้าหน้าที่ ดำเนินการรังวัดออก โฉนด. โดยมิชอบ

เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องต้องถูกลงโทษทางวินัยและอาญาเมื่อดูแล้ว ไม่ปรากฎว่ามีประเด็นว่าเป็นที่หลวงหวงห้าม แต่เป็นที่ดินรกร้างว่างเปล่า ประชาชนย่อมมีสิทธิ์เข้าไปครอบครองโดยเปิดเผยครับแม้ที่ว่างเปล่าได้สละการครอบครอง ผู้ครอบครองต่อมาย่อมได้รับ"สิทธิ์ครอบครอง"แล้วตามประมวลกฎหมายแพ่ง และสามารถนำที่ดินนั้นไปขอออกโฉนด โดยมิได้แจ้งการครอบครองได้เพราะไม่ใช่ที่หลวงหวงห้าม ซึ่งเป็นข้อห้ามการออกโฉนดตามประมวลกฎหมายที่ดินการพยายามบอกกับสังคมว่าเป็นที่หลวงต้องเอาคืน ไม่มีตรงไหนที่บอกว่า เป็นที่หลวง....มันเป็นการออกเอกสารสิทธิ์โดยมิชอบซึ่งมีหลากหลายสาเหตุแต่ที่ดินที่เข้าไปทำประโยชน์นั้น หากเป็นคนไทยเข้าไปทำประโยชน์โดยเปิดเผยต่อเนื่อง ย่อมได้สิทธิ์ครอบครองตามประมวลกฎหมายแพ่งฯอยู่แล้วการออกเอกสารสิทธิ์ให้เป็นเพียงเป็นการรับรองโดยทางราชการเท่านั้นเองคนเรียนกฎหมายย่อมซึมซับเรื่องสิทธิ์ในที่ดินและเอกสารสิทธิ์ เค้ารู้ว่ามันเป็นคนละเรื่องส่วนเจ้าของในปัจจุบันได้สิทธิ์นั้นโดยการครอบครองแล้วครับเพราะได้สิทธิ์ในที่ดินด้วยการเข้าทประโยชน์แล้วออกโฉนดได้ ไม่มีปัญหา...เป็นโฉนดใหม่นะครับ...( แต่จะเป็นโฉนดหลังแดง ห้ามโอน ห้ามซื้อขายภายใน 10 ปี เพราะไม่ได้แจ้งการครอบครอง )หากมีการเดินสำรวจทั้งตำบล ก็ขอออกโฉนดได้ นำทำการรังวัดได้เลยหากไม่มีการเดินสำรวจทั้งตำบล สามารถรอขอออกใบจอง แล้วนำใบจองไปขอออกโฉนดเฉพาะรายที่สำนักงานที่ดินโฉนดเก่า หรือ นส. 3 . เก่า ก็ยกเลิกไปเรื่องเอกสารสิทธิ์ กับสิทธิครอบครอง เป็นคนละเรื่องกันก่อนออกโฉนดใหม่หลังจากทำการสอบสวนและทำการรังวัดใหม่แล้ว ต้องปิดประกาศ 30 วัน หากไม่มีผู้คัดค้าน ก็ออกได้เลยหากมีผู้ร้องค้าน ก็จะเป็นเรื่องที่เจ้าพนักงานที่ดินเรียกทั้งสองฝ่ายมาไกล่เกลี่ยที่สำนักงานที่ดินหากตกลงกันได้ก็จบ ออกโฉนดได้ หากเจ้าพนักงานที่ดินเห็นว่าผู้ร้องค้านไม่มีเหตุผลเพียงพอ ก็สั่งออกโฉนดได้ ( เป็นดุลพินิจของเจ้าพนักงานที่ดิน )กรณีนี้หากผู้ร้องคัดค้านเห็นว่าเป็นการออกโฉนดโดยมิชอบ ก็ไปร้องต่อศาลเอาเอง
กรณีที่ 2 หากผู้ร้องคัดค้านไม่ยินยอม เจ้าพนักงานที่ดินเห็นตามผู้ร้องคัดค้าน ก็จะไม่ออกโฉนดให้ ( เป็นดุลพินิจของเจ้าพนักงานที่ดินเช่นกัน )ผู้ขอออกโฉนดก็นำเรื่องร้องต่อศาล...สุดท้ายศาลจะเป็นผู้พิจารณาว่าที่ดินดังกล่าว สามารถออกโฉนดให้แก่ผู้ร้องได้หรือไม่ท้ายที่สุดเรื่องจะไปจบลงที่ศาลทั้งนั้น หากเป็นไปตามนี้..เพราะมิใช่ กันระยะโดยเหตุ"ทับที่หลวง" แต่เป็นเรื่องออกเอกสารสิทธิ์โดยมิชอบซึ่งยังคงมีที่ดินบางแปลงมีกรณีพิพาทกันอยู่เจ้าหน้าที่ จะเป็นฝ่ายเสียหายซะเองยิ่งมาตอกย้ำว่า...สค1 จดที่รกร้างว่างเปล่า ต้องกันระยะ


ซึ้งตามกฎหมาย ในเมื่อข้างเคียงมิได้ใช้สิทธิ์คัดค้านนำชี้เขตหรือนำรังวัดหรือให้ถ้อยคำต่าง ก็ต้องพิจารณาว่ามีกฏหมายหรือระเบียบให้อำนาจพนักงานเจ้าหน้าที่ดำเนินการอย่างไรหรือไม่ซึ่งก็คือตามนัยดังกล่าว


กรณีปัญหาที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ เเต่เเนวทางปฎิบัติเเตกต่างจากจังหวัดภูเก็ต

ด้านนายจำลอง โพธิ์เพชร หัวหน้าสำนักงานที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี สาขาเกาะสมุย เปิดเผยว่า ที่ดินงอกกับที่ดินเพิ่มไม่เหมือนกัน ข้อเท็จจริงเป็นการเพิ่มจากการรังวัดตามแนวเขตที่ดิน ซึ่งตามแนวเขตในหนังสือส..1 ได้แสดงลักษณะผังที่ดินประกอบไว้เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า แต่การรังวัดเป็นโฉนดที่ดินต้องใช้วิธีการตรรกะ (การคำนวณกราฟ) ปักหมุดตามหลักเขต ฉะนั้นรูปที่ดินในโฉนดที่ออกมาจะเปลี่ยนไปตามแนวที่วัดได้และส่วนที่เพิ่มมา ต้องเป็นไปตามเขตที่ดินดังกล่าว

นายจำลองกล่าวว่า ไม่ใช่เรื่องแปลกที่การรังวัดโฉนดเป็นไปได้ทั้งเนื้อที่ลดหรือเพิ่มขึ้นจากเดิม แต่ต้องเป็นไปตามการรังวัดของเจ้าหน้าที่ และต้องได้รับคำยินยอมจากเจ้าของที่ดินข้างเคียงเซ็นชื่อรับทราบยอมรับในแนวเขตดังกล่าว อย่าลืมว่าที่ดินบนเกาะสมุยมีราคาแพงคงไม่มีใครยอมให้คนอื่นมาบุกรุกกินเนื้อที่ของตนไปแน่ และหากเจ้าของที่ข้างเคียงไม่ยอมเซ็นชื่อก็ออกโฉนดให้ผู้ขอไม่ได้


สื่อมวลชลให้ความสนใจในเรื่ิองนี้

ละเอียดข่าว


กาขาว [ 13 ]


หนังสือพิมพ์เสียงใต้รายวัน ประจำวันที่ 16 มิถุนายน ..2553... ขอเชิญชวนพสกนิกรร่วมกันแสดงถึงความจงรักภักดีและลงนามถวายพระพร...

สำรวจตัวเลขยื่นคำร้องขอกรรมสิทธิ์ที่ดินบนเกาะภูเก็ต 1,400 ราย ที่ออกเอกสารไม่ได้ เป็นปัญหาโลกแตกสำหรับเกาะภูเก็ตหลายมาตรฐาน อย่างที่มท.3” ถาวร เสนเนียม รมช.มหาดไทย ชี้ว่าเป็นปัญหาที่ลาดชัน-ควนเขา”...z กฎกระทรวงมหาดไทย ฉบับที่ 43”ให้อำนาจผู้ว่าฯแต่งตั้งคณะกรรมการประกอบด้วย ที่ดิน, ป่าไม้, นายอำเภอ, พัฒนาการที่ดิน และผู้ใหญ่บ้าน ร่วมกันตรวจสอบที่ดินที่มีปัญหา และการครอบครองก่อน ..2497 โดยเฉพาะ..1”...z ขั้นตอนนี้กรมที่ดินได้ประกาศให้ราษฎรที่ครอบครองขอออกโฉนดปัญหาที่จะถกเป็นประเด็นว่า..1”ที่ดินที่ครอบครองน้อยกว่าเป็นจริง เพราะการเลี่ยงภาษี”...z นี่เป็นประเด็นหนึ่งของการคอร์รัปชันคือ การต่อรองอามิสสินจ้างหรือขอส่วนแบ่งส่วนที่เกินในหลายรูปแบบ ความง่ายกลายเป็นยาก หรือความยากชาวบ้านขี้เกียจรำคาญกำขี่ดีกว่ากำตดเป็นเรื่องง่าย...z พูดถึงคณะกรรมการที่ผู้ว่าฯแต่งตั้ง ถือว่าร่วมฟันธงที่ดินแปลงไหนถูกหรือบุกรุกในเขตป่าสงวนแห่งชาติและที่ดินสาธารณะ เสนอรายงานต่อผู้ว่าฯมิใช่ว่าการแสดงความคิดเห็นส่วนตัวอคติเมื่อติดเขตที่ดินของใคร เซ็นรับรองแนวเขตหรือติดเขตป่าฯ ติดประกาศ 30 วัน ใครค้านแย้งได้...z ที่เกิดขึ้นที่ดินเห็นแย้งป่าไม้ไม่มีปัญหา นายอำเภอและผู้ใหญ่บ้าน เห็นพ้อง แต่เป็นว่าการเสนอความเห็นส่วนตัวขัดต่อความเป็นจริง นี่ก็ถือว่าต่ำกว่ามาตรฐานเออ...เวรจงระงับด้วยการไม่จองเวร ชาวบ้านตาดำๆมีสิทธิ์ไหมครับ เอวังด้วยประการฉะนี้...z โฉนดบินเพราะโจรในเครื่องแบบร่วมมือกันโกงสมบัติชาติไม่อยากจะพูดมาก หรือไปสอนสังฆราชกฎกระทรวง .43” หากเกิดการขัดแย้ง ขอให้ผู้ตรวจกรม-กระทรวง-สำนักนายกรัฐมนตรีลงมาร่วมตรวจสอบ เชื่อว่า 1,400 แปลง ขุดหาความจริงได้...z ย้ายกลับมาใหญ่ นิวิทย์ อรุณรัตน์ รองผู้ว่าฯภูเก็ตคนใหม่ (อดีตปลัดจังหวัด) คนภูเก็ต สับเปลี่ยนเก้าอี้กับ สมิทธิ์ ปาลวัฒน์วิไชย ย้ายไปเป็น รองผู้ว่าฯสุโขทัย ยินดีด้วย...z สนง. เขตพื้นที่การศึกษาภูเก็ต ถนัด ขวัญนิมิต ผู้อำนวยการ ย้ายไปเป็น ผอ.ฯเขต 2 พัทลุง ยกเก้าอี้ให้ ประไพ รัตนไพจิต ผอ.ฯร้อยเอ็ด คนเมืองคอนมานั่งแทน เพื่อรอเกษียณอายุ โชคดีเช่นกัน...z สนง.เหล่ากาชาดจังหวัดภูเก็ต จัดฝึกอบรมผู้ประสานงานการจัดหาบริการโลหิต คน RH (เลือดลบ) ระหว่างวันที่ 22-23 มิถุนายน ศกนี้ 2 วัน ที่โรงแรมเพิร์ลและโรงแรมภูเก็ตเมอร์ลิน.............

กาขาว

วันที่ : 15 มิ. 2553

ข้อมูล นสพ เสียงใต้

ภาพขนาดย่อของรายการ

กรณีที่ดินจังหวัดสุราษฎร์,พังงา,กระบี่,เลย เเนวทางปฎิบัติเเตกต่างจากจังหวัดภูเก็ต

การดำเนินการในการออกโฉนดที่ดิน กรณีเดินสำรวจออกโฉนดที่ดินตามโครงการเร่งรัดออกโฉนดที่ดินทั่วประเทศ หากกระบวนการในการรังวัดถูกต้อง ครบถ้วน ก็สามารถแจกโฉนดได้ภายในระยะเวลาของโครงการฯ แต่หากมีปัญหาในการดำเนินการของขั้นตอนการรังวัด เช่น การรับรองแนวเขตไม่ครบถ้วน ก็จะต้องส่งเรื่องราวให้สำนักงานที่ดินท้องที่ดำเนินการต่อ โดยต้องนัดรังวัดตรวจสอบใหม่ เพื่อแจ้งให้ข้างเคียงที่ดินที่ไม่ได้รับรองแนวเขตมาระวังชี้แนวเขต ถ้าหากการดำเนินการในส่วนต่าง ดังกล่าวครบถ้วนแล้ว ก็สามารถออกโฉนดได้โดยเร็ว

ตอบโดย สำนักงานที่ดินจังหวัดพังงา

ฝ่ายอํานวยการสํานักงานที่ดินจังหวัดกระบี่, พังงา เเละ กว จังหวัดเลย จังหวัด สุราษฎร์ ใช้ข้อเท็จจริง ต่างจากภูเก็ตยึดระยะตามสค1เป์นหลักไม่ใช้ข้อเท็จจริงที่เป็นปัจุบันผมเลยไม่เข้าใจเเต่ถ้าเป็นเเนวทางปฎิบัติเดียวกันประชาชนก็จะลดภาระไม่ต้องขึ้นศาลปกครองเพราะจะไม่มีความคิดว่าจังหวัดอื่นออกให้ครบเเต่จังหวัดเราถูกตัดระยะเลยตัองไปศาลปกครองเพราะที่ดินจังหวัดเเจ้งว่าเป็นคําสั่งทางปกครองให้ไปฟ้องศาลปกครองเลยคิดในใจนี่เราอยู่กับเพี่อนคนละรัฐเหมือนในอเมริการึเปล่าเพราะกฎหมายใชัคนละฉบับที่รู้มารัฐไทยเป็นรัฐเดี่ยวเเบ่งเเยกไม่ได้



---------------------------------------------------------------

------------------------------------------------------------


ปปช



กรณ๊ที่ที่ดินตั้งอยู่ในเขตป่าหรือคาบเกี่ยวเขตป่าไม้ ในชั้นออกหนังสือรับรองการทำประโยชน์ ..3. ได้ตั้งคณะกรรมการขึ้นไปตรวจสอบแล้วและคณะกรรมการมีความเห็นว่าควรออก ..3.ให้ผู้ขอได้แล้ว ต่อมาผู้ขอได้นำหลักฐาน ..3.ฉบับนั้นมาขอออกโฉนดที่ดิน จำเป็นจะต้องตั้งคณะกรรมการฯขึ้นไปทำการตรวจพิสูจน์อีกหรือไม่ อย่างไร


คณะกรรมการ ... พิจารณาแล้วเห็นว่า การกระทำของ นายสมนึก ไพบูลย์ เป็นความผิดทางวินัยอย่างร้ายแรง ฐานทุจริตต่อหน้าที่ และเป็นความผิดทางอาญา ฐานเป็น เจ้าพนักงาน ใช้อำนาจในตำแหน่งโดยมิชอบ ข่มขืนใจหรือจูงใจเพื่อให้บุคคลใดมอบให้หรือหามาให้ ซึ่งทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดแก่ตนเองหรือผู้อื่น และฐานเป็นเจ้าพนักงาน ปฏิบัติหรือละเว้นการ ปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 148 และมาตรา 157 จึงมีมติให้ส่ง รายงาน เอกสารและความเห็นไปยังผู้บังคับบัญชาและอัยการสูงสุดเพื่อดำเนินการทางวินัยและ ฟ้องผู้ถูกกล่าวหาเป็นคดีอาญาต่อศาล ต่อไป




ถ้ามาดูที่เเปลงนี้


กรณีกรณ๊ที่ที่ดินตั้งอยู่ในเขตป่าหรือคาบเกี่ยวเขตป่าไม้ ในชั้นออกหนังสือรับรองการทำประโยชน์ ได้ตั้งคณะกรรมการขึ้นไปตรวจสอบแล้วและคณะกรรมการมีความเห็นว่าควรออก โฉนด.ให้ผู้ขอได้แล้ว ต่อมาที่ิดินจังหวัดภูเก็ตได้เสนอความเห็นโดยไม่ใช้มติของคณะกรรมการตามกฎกระทรวงฉบับที่43 เสนอผู้ว่าซึ้งเป็นขั้นตอนที่ถูกต้อง 1 ใน5 ของคณะกรรมการมีที่ดินจังหวัดเป็นคณะกรรมการร่วมอยู่ด้วย ถ้าคณะกรรมการรับรองเเต่เจ้าที่ดินไม่รับรอง ดูเเล้วไม่ปฎิบัติตามขั้นตอนของกฎหมาย เป็นความผิดทางวินัยเเละใข้อํานาจโดยมิชอบ







ในฐานะเป็นคนไทยขอเป็นกําลังใจให้นายกทวงคืนเเผ่นดินไทยกลับมาในเร็ววัน

วันอาทิตย์ที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

เริ่มต้นชี้เเนวเขต

ข้าพเจ้านายจรัญ หนูพู่อาชีพ ทําสวน  ปัจุบันมีอายุ ปี มีที่ดินสค1 อยู่1เเปลง มีความฝันว่าจะให้กับลูกๆเพื่อเป็นทุนในอนาคต เลยนําสค1ไปออกโฉนดเเละช่างรังวัดได้มาทําการรังวัดโดยมีข้าพเจ้าชี้เเนวเขตตามที่ได้ใช้ประโยชน์จริงได้เน้อที่เป็น2เเปลง
 เเปลงที่1ได้ 10-0-18 ไร่
เเปลงที่2ได้ 2-1-04
ได้เเบ่งเป็นทางสาธรณะประโยชน์1-0-82 อยู่ตรงกลางที่  รวมเเล้วได้เนื้อที่ 12 ไร่  มากกว่าเดิมที่ใน สค1   เเจ้งว่ามี7   ไร่     มากกว่าเดิม   5  ไร่


เเละได้มีการรับรองเเนวเขตทุกด้าน โดยมีนายช่างรังวัดเป็นผู้ดําเนืนการจนเสร็จ

วันศุกร์ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

รูปเเผนที่ประกอบข้อเท็จจริง

       รูปเเผนที่ จะเห็นว่า บริเวณโดยรอบของที่ดินมีการครอบครองไม่มีด้านใดจดที่รกร้างว่างเปล่าเเละไม่อยู่ในเขตป่าถ้าอยู่ในเขตป่าที่ดินข้างเคียงก็ไม่มีการรับรองถึงสิทธิ์ในการครอบครอง
1 ทางป่าไม้มีหนังสือรับรองว่าไม่อยู่ในเขคป่า
2 คณะกรรมการตามกฎ43ก็มีความเห็นให้ผู้ขอตามพึ้นที่ๆได้ใช้ประโยชน์จริงคือ12ไร่

 เลยยังไม่เข้าใจว่าทําไมที่ดินจีงใช้

         ระเบียบคณะกรรมการจัดที่ดินเเห่งชาติฉบับที่ 12 ข้อ 10 กําหนดให้ที่ดินด้านหนึ่งด้านใดจดที่ป่าหรือที่รกร้างว่าเปล่าเเละระยะที่วัดได้เกินกว่าระยะที่ปรากฎในหลักฐานเเจ้งการตรอบครองให้ถือระยะที่ปรากฎในหลักฐานการเเจ้งการครอบครองเป็นหลักในการออกโฉนด ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ออกโฉนดที่ดินรายนี้ผู้ขอได้นําการรังวัดเกินระยะในสคมากเเละเดิมสคเเจ้งจดที่รกร้างว่างเปล่าถึงด้านตือด้านทิศเหนือ ทิศใต้ เเละทฺศตะวันตก จึงเป็นเหตุให้เนื้อที่เกินหลักฐานสค1เดิมมากด้วยเเละผู้ขอไม่ยินยอมให้เจ้าหน้าที่รังวัดกันระยะตามสค1 ฉะนั้น เพื่อให้เป็นไปตามระเบียบคณะกรรมการจัดที่ดินเเห่งชาติฉบับที่พศจึงเห็นควรกันระยะตามสค1 เเละเเจ้งให้ผู้ขอทราบ เพื่อให้โอกาศอุธรณ์คําสั่งต่อไป


Item Thumbnail การชี้เเจงไม่มีอะไรเพิ่มเติมจากทางที่ดินบอกเเค่12ข้อ10

   โฉนดพื้นที่ สีส้ม มีถนนตรงกลาง บริเวณพื้นที่ ช้างเคียงโดยรอบ สีฟ้า ในสค1 เขียนว่า ที่ว่างเปล่า ข้อเท็จจริงมีการครอบครอง หมดเเล้ว เเละทุกด้านมีการรับรองเเนวเขตครบทุกด้าน สังเกตุจะมีหมุดปักโดยรอบ





หลังจากรังวัดก็มีหนังสือตอบจากที่ดิน

ผมขอความเป็นธรรมครับ

การกรมที่ดิน,รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยถาวร เเสนเนียม , ปลัดกระทรวงมหาดไทย,อธิบดีกรมที่ดิน ,หนังสือพิมพ์ผู้จัดการ

ข้าพเจ้านําสค1ไปออกโฉนด (เนื้อที่ในสค1)
ในสค1 ทิศเหนือจด ที่ดินว่างเปล่า
ทิศใต้จด ที่ดินว่างเปล่า
ทฺศตะวันออกจดนาย ไข่ ไชยศรี
ทิศตะวันตกจด ที่ดินว่างเปล่า

ปัจุบันตาม (ข้อเท็จจริง) ช่างรังวัดได้รังวัดโดยเจ้าของที่ดินเเละเจ้าของที่ดินข้างเคียงบันทึกใน ทด16 บันทึกข้างเคียงเปลี่ยนเเปลง
ทิศเหนือจด นส3ก เลขที่560
ทิศใต้จด ที่มีการครอบครอง นายรัตน์ หลักบ้าน
ทิศตะวันออกจด โฉนดเลขที่46888
ทิศตะวันตกจด ที่มีการครอบครอง นาววิลัย คมกฤต
มีการรับรองเเนวเขตทุกด้าน
เนื้อที่ในสค1มีเนื้อที่ 7 ไร่
ช่างรังวัดใหม่ได้ 12ไร่ 1งาน22ตารางวา ตามที่ได้ครอบครองเเละทําประโยชน์อยู่จริง
สํานักงานที่ดินได้ออกประกาศครบ30วันไม่มีผู้ใดโต้เเย้งคัดค้านสิทธิในที่ดินเเต่อย่างใด
เเละ คณะกรรมการตามกฏกระทรวง43(พศ2537) ได้ออกพิสูจน์เเล้ว สภาพที่ดินเป็นควนเขา ท๋าสวนผสม ปลูกทุเรียน สะตอ เดิมที่ดินเป็นสวนยางพารา ที่ดินอยู่นอกเขตป่าถาวร อยู่คาบเกี่ยวป่าสงวนเเห่งชาติ ป่าเขานาคเกิด ตณะกรรมการมีความเห็นว่าควรออกโฉนดให้ผู้ขอได้ทั้งเเปลง

หลังจากนั้น มีหนังสือจากที่ดิน จังหวัดภูเก็ต


มีความเห็นว่า ระเบียบคณะกรรมการจัดที่ดินเเห่งชาติฉบับที่ 12 ข้อ 10 กําหนดให้ที่ดินด้านหนึ่งด้านใดจดที่ป่าหรือที่รกร้างว่าเปล่าเเละระยะที่วัดได้เกินกว่าระยะที่ปรากฎในหลักฐานเเจ้งการตรอบครองให้ถือระยะที่ปรากฎในหลักฐานการเเจ้งการครอบครองเป็นหลักในการออกโฉนด ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ออกโฉนดที่ดินรายนี้ผู้ขอได้นําการรังวัดเกินระยะในสคมากเเละเดิมสคเเจ้งจดที่รกร้างว่างเปล่าถึงด้านตือด้านทิศเหนือ ทิศใต้ เเละทฺศตะวันตก จึงเป็นเหตุให้เนื้อที่เกินหลักฐานสค1เดิมมากด้วยเเละผู้ขอไม่ยินยอมให้เจ้าหน้าที่รังวัดกันระยะตามสค1 ฉะนั้น เพื่อให้เป็นไปตามระเบียบคณะกรรมการจัดที่ดินเเห่งชาติฉบับที่พศจึงเห็นควรกันระยะตามสค1 เเละเเจ้งให้ผู้ขอทราบ เพื่อให้โอกาศอุธรณ์คําสั่งต่อไป

จึงเกิดคําถามว่าเเนวทางปฏิบัติว่าการออกโฉนดว่าจะยึดเนื้อที่ตามสค1 หรือ ข้อเท็จจริง เพื่อเป็นเเนวทางในการปฏิบัติ
ถ้ายึดตามสค1 ข้าพเจ้าได้เนื้อที่7ไร่
ถ้ายึดตามข้อเท็จจริงข้าพเจ้าได้12ไร่1งาน22ตารางวา มีเพื่อนข้าพเจ้าชึ้งเป็นชาวสวนพูดว่าข้ามีสค1ไม่ต้องไปออกโฉนดให้ยุ่งยาก ข้าพเจ้าถามว่าทําไมคิดอย่างนั้น เพื่อนตอบว่า ก็ที่ดินเขายืดตามสค1 ไงเพื่อน ข้าพเจ้าเลยถึงบางอ้อ

กฎหมายที่ดินที่ข้าพเจ้าค้นหาเเละมิตรสหายบอกมา

พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ.2497 หมวด 5 การรังวัดที่ดิน
มาตรา 69 ทวิ /2 ผู้มีสิทธิในที่ดินประสงค์จะขอสอบเขตโฉนดที่ดินเฉพาะรายของตนให้ยื่นคำขอพร้อมด้วยโฉนดที่ดินนั้นต่อเจ้าพนักงานที่ดินและให้พนักงานเจ้าหน้าที่ไปทำการรังวัดให้
ในการรังวัด ถ้าปรากฏว่าการครอบครองไม่ตรงกับแผนที่หรือเนื้อที่ในโฉนดที่ดิน เมื่อผู้มีสิทธิในที่ดินข้างเคียงได้รับรองแนวเขตแล้ว ให้เจ้าพนักงานที่ดินมีอำนาจแก้ไขแผนที่หรือเนื้อที่ให้ตรงกับความเป็นจริงได้ เว้นแต่จะเป็นการสมยอมเพื่อหลีกเลี่ยงกฎหมาย
ในกรณีที่ไม่อาจติดต่อผู้มีสิทธิในที่ดินข้างเคียงให้มาระวังแนวเขตได้ หรือในกรณีที่ผู้มีสิทธิในที่ดินข้างเคียงได้รับการติดต่อจากพนักงานเจ้าหน้าที่ให้มาระวังแนวเขตแล้วแต่ไม่มา หรือมาแต่ไม่ยอมลงชื่อรับรองแนวเขตโดยไม่ได้คัดค้านการรังวัด ให้พนักงานเจ้าหน้าที่แจ้งเป็นหนังสือให้ผู้นั้นมาลงชื่อรับรองแนวเขตหรือคัดค้านภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้ส่งหนังสือ ถ้าผู้มีสิทธิในที่ดินข้างเคียงไม่ดำเนินการอย่างหนึ่งอย่างใดภายในกำหนดดังกล่าว และผู้ขอได้ให้คำรับรองว่ามิได้นำทำการรังวัดรุกล้ำที่ดินข้างเคียงและยินยอมให้แก้ไขแผนที่หรือเนื้อที่ให้ตรงกับความเป็นจริงให้เจ้าพนักงานที่ดินดำเนินการตามวรรคสองไปได้โดยไม่ต้องมีการรับรองแนวเขต
การติดต่อหรือการแจ้งผู้มีสิทธิในที่ดินข้างเคียงตามวรรคสาม ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดในกฎกระทรวง /3
หากปรากฎว่ามีผู้คัดค้าน ให้เจ้าพนักงานที่ดินมีอำนาจสอบสวนไกล่เกลี่ยโดยถือหลักฐาน แผนที่เป็นหลักในการพิจารณา ถ้าตกลงกันได้ก็ให้ดำเนินการไปตามที่ตกลง แต่ต้องไม่เป็นการสมยอมกันเพื่อหลีกเลี่ยงกฎหมาย หากตกลงกันไม่ได้ให้แจ้งคู่กรณีไปฟ้องต่อศาลภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้ง ถ้าไม่มีการฟ้องภายในกำหนดดังกล่าว ให้ถือว่าผู้ขอไม่ประสงค์จะสอบเขตโฉนดที่ดินนั้นต่อไป
ในกรณีผู้มีสิทธิในที่ดินประสงค์จะขอให้ตรวจสอบเนื้อที่ตามหนังสือรับรองการทำประโยชน์เฉพาะรายของตน ให้ยื่นคำขอพร้อมด้วยหนังสือรับรองการทำประโยชน์สำหรับที่ดินนั้นต่อเจ้าพนักงานที่ดิน และให้นำความในวรรคสอง วรรคสาม วรรคสี่ และวรรคห้า มาใช้บังคับโดยอนุโลม
สาระสำคัญ

การสอบเขตที่ดิน

”การสอบเขต” หมายถึง การรังวัดตรวจสอบแนวเขตโฉนดที่ดินหรือการรังวัดตรวจสอบเนื้อที่ตามหนังสือรับรองการทำประโยชน์ เพื่อให้ทราบที่ตั้งแนวเขตที่ดินและจำนวนเนื้อที่ของที่ดินตามที่ได้ครอบครองอยู่จริง

การสอบเขตที่ดิน
- การรังวัดสอบเขตที่ดินซึ่งมีชื่อผู้ถือกรรมสิทธิ์ร่วมกันหลายคน ผู้ถือกรรมสิทธิ์คนหนึ่งคนใดนำทำการสอบเขตโฉนดที่ดิน โดยไม่ต้องมีหนังสือมอบฉันทะของคนอื่นไปก่อนได้ แต่ถ้าปรากฏว่าจำนวนเนื้อที่ดินหรือเขตที่ดินที่ทำการสอบเขตใหม่คลาดเคลื่อนไปจากเดิม จึงให้จัดการติดต่อให้ผู้ถือกรรมสิทธิ์รวมทุกคน ได้มีการยินยอมรับรองไว้เป็นหลักฐานด้วย (คำสั่งที่ ๑/๒๕๐๔ ลงวันที่ ๔ มกราคม ๒๕๐๔)
- การรังวัดสอบเขตที่ดินผลปรากฏว่า การครอบครองไม่ตรงกับแผนที่หลังโฉนดที่ดินเดิม คำนวณเนื้อที่ใหม่ได้น้อยกว่าเดิม ผู้มีสิทธิในที่ดินข้างเคียงรับรองแนวเขตครบ การสอบสวนไม่ปรากฏว่ามีการสมยอมเพื่อหลีกเลี่ยงกฎหมาย เจ้าพนักงานที่ดินมีอำนาจที่จะสั่งแก้ไขรูปแผนที่และเนื้อที่ในโฉนดที่ดินให้ตรงกับความเป็นจริงได้ ตามมาตรา ๖๙ ทวิ วรรค ๒ แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน ถ้าผู้ขอไม่มีความประสงค์จะดำเนินเรื่องต่อไปก็ย่อมเป็นสิทธิของผู้ขอที่จะขอเลิกเรื่องได้ แต่ขอให้พนักงานเจ้าหน้าที่แจ้งให้เจ้าของที่ดินทราบถึงผลการรังวัดสอบเขตที่ดินดังกล่าวโดยชัดเจนอีกครั้งหนึ่ง หากยินยอมให้แก้ไขรูปแผนที่และเนื้อที่ได้ก็ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ดำเนินการต่อไป แต่ถ้าไม่ยินยอมก็ให้บันทึกถ้อยคำไว้เป็นหลักฐานพร้อมกับกลัดคำสั่งให้สอบเขตที่ดิน (ท.ด.๘๐) ว่า ”ที่ดินแปลงนี้ได้มีการรังวัดสอบเขตที่ดิน ปรากฏว่าการครอบครองไม่ตรงกับแผนที่หลังโฉนดที่ดินเดิม คำนวณเนื้อที่ใหม่ได้น้อยกว่าเดิม ……….ตารางวา ให้ทำการสอบเขตโฉนดที่ดินเสียก่อน ถ้าคู่กรณียืนยันให้จดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม ก็ให้บันทึกถ้อยคำเป็นหลักฐานไว้แล้วดำเนินการต่อไปได้” ติดไว้ในโฉนดที่ดินเสียก่อน แล้วจึงให้เลิกเรื่องไปได้ ในกรณีที่มีการขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับโฉนดที่ดินแปลงนี้ ถ้าคู่กรณียืนยันเป็นลายลักษณ์อักษรให้จดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม ก็ให้พนักงานเจ้าหน้าที่บันทึกถ้อยคำของคู่กรณีทุกฝ่ายเพื่อให้ทราบถึงผลการรังวัดสอบเขตที่ดินครั้งก่อนว่า การครอบครองไม่ตรงกับรูปแผนที่และเนื้อที่ในโฉนดที่ดินเดิม ไว้เป็นหลักฐานด้วยทุกครั้งจนกว่าจะได้มีการสอบเขตแก้ไขรูปแผนที่และเนื้อที่ในโฉนดที่ดินให้ถูกต้อง (ตอบข้อหารือจังหวัดสมุทรสงคราม ที่ มท ๐๖๐๙/๒๐๕๒๔ ลงวันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๒๓ เวียนโดยหนังสือกรมที่ดิน ที่ มท ๐๖๐๙/ว.๒๒๓๖๗ ลงวันที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๒๓)
-

คำตอบ

การออกโฉนดที่ดินโดยอาศัยหลักฐาน ส.ค.๑ เมื่อระยะแนวเขตเปลี่ยนแปลง และข้างเคียงรับรองแนวเขตครบ
ผู้ปกครองท้องที่รับรองแนวเขตที่สาธารณะฯ ถูกต้อง ให้ปฏิบัติตามระเบียบคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ.๒๕๓๒) ข้อ ๘ วรรคสอง เนื่องจากไม่ได้มีด้านจดที่ป่าแต่อย่างใด
สำหรับข้างเคียงทางด้านทิศตะวันออก เมื่อข้อเท็จจริงปรากฏว่า จดที่ดินของนาย ก. ตามหลักฐาน ส.ค.๑ คงเดิมการเขียนข้างเคียงด้านทิศตะวันออกจะเขียนว่าที่มีการครอบครอง ไม่ว่าที่ดินของนาย ก. ซึ่งเป็นที่ดินที่ไม่มีหลักฐานนั้นจะอยู่ในเขตป่าไม้ถาวรหรือไม่ก็ตาม เพราะการเขียนและรับรองแนวเขตดังกล่าวจะเป็นไปตามระเบียบกรมที่ดินว่าด้วย การเขียนข้างเคียงและการรับรองแนวเขตที่ดิน พ.ศ. ๒๕๔๑ ข้อ ๗.๒ แม้ว่า นาย ก. จะไม่มีหลักฐานใดก็ให้เขียนข้างเคียงว่าที่มีการครอบครอง ตามข้อเท็จจริง

\"\"\"\"\"\"\"\"\"\"ตอบโดย :
รายละเอียด : คำตอบ



สำนักมาตรฐานการออกหนังสือสำคัญ


ที่ดินจังหวัดยโสธร คําถามเลขที่520760085 ตอบคําถามที่ยึดหลักตามข้อเท็จจริงเเละที่ดินรังวัดในปัจุบันเเม้เนื้อที่เกินก็สามารถออกโฉนดได้ตามเนื้อที่ที่ครอบครองทําประโยชน์อยู่จริง



ข้าพเจ้าเเละผู้ให้ข้อมูลมั่นใจว่าชาวดินมีมาคราฐานเดียว


ที่กล่าวมาข้างต้นเป็นเรื่องจริงที่จังหวัดภูเก็ต
ถ้าผู้ตรวจกระทรวงทราบเเล้วจะกรุณาตรวจสอบข้อเท็จจริงเป็นที่ของนายจรัญ หนูพู่ ประชาชนที่รอความหวังจากเปาบุ้นจิ้นของกรมที่ดิน ที่ข้าพเจ้าเขียนมาเพื่อขอความเป็นธรรมมิได้คิดหรือมีความคิดที่จะได้ทรัพย์ของเเผ่นดินที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมายเเต่อย่างใดเเต่ถ้าตามกฎหมายเป็นทรัพย์ที่ข้าพเจ้าควรได้ก็เป็นสิ่งที่ชอบเเล้วสุดท้ายนี้ขอให้สํานักผู้ตรวจกรมที่ดินมีความเจริญเเละดํารงคุณธรรมให้กับกรมที่ดินตลอดไป

การเดินทางต้องใช้เงินมากข้าพเจ้าจึงต้องพึ่งระบบคอมเพื่อลดค่าใช่จ่ายจึงขอกราบขอโทษมานะที่นี้

ขอบคุณ ผู้ถ่ายทอดความรู้สึกของข้าพเจ้ามานะที่นี้ด้วย

ด้วยความเคารพ

จรัญ หนูพู่

สำนักมาตรฐานและส่งเสริมการรังวัด

เกี่ยวกับ คจช ฉบับ 12 ข้อ 10
สค๑ ด้านใดด้านหนึ่ง( เพียงด้านเดียว ) จดป่า แต่ จพด สั่งโดยไม่มีลายลักษณ์อักษรตัดระยะทั้ง 4 ด้านตามหลักฐานโดยที่ดินอยู่ในเขตป่าชายเลนตามมติครม ปี 2530 โดยความเข้าใจของตนเองเข้าใจว่า ( ถูกหรือเปล่า ) ด้านใดจดป่าตัดแค่ด้านนั้นและเคยอบรมประสิทธิภาพนายช่างก็ได้ความอย่างที่เข้าใจ แต่ไม่สามารถหาหลักฐานอ้างอิงได้ ถามว่า มีระเบียบหรือคำสั่งหรือคำพิพากษาศาลฏีกาเกี่ยวกับเรื่องนี้ที่สามารถนำมาประกอบได้บ้าง
จากคุณ ช่างภูธร เมื่อวันที่ 3/8/2552 21:41:51

ได้ประสานทาง ผ.อ.สุรพล ศรีวิโรจน์ (ส่วนมาตรฐานการออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน สำนักมาตรฐานการออกหนังสือสำคัญ) ให้แล้ว กรมที่ดินได้วางแนวทางให้ปฏิบัติตาม หนังสือที่ มท 0609 / ว.13688 เรื่อง การออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน ในกรณีแจ้ง ส.ค.1 ไว้จดป่า ลงวันที่ 13 สิงหาคม 2517
ความคิดเห็นที่ 1 จากคุณ วิรัช (สมส) เมื่อวันที่ 5/8/2552 13:39:27

-ระวางขีดเขตป่าไม้แล้ว รังวัดออกโฉนดแล้วปรากฏว่า มีแนวเขตติดเขตป่าสงวน(มิได้คาบเกี่ยว) จนท ป่าไม้รับรองเขตแนวเขตแล้วว่าอยู่นอกเขตป่าสงวน จะต้องตั้งกรรมการตามกฏ 43 หรือไม่ครับ ความเห็นผม ไม่ต้องตั้งกรรมการเพราะอยู่นอกป่า ป่าไม้รับรองแล้ว แต่ มีผู้คัดค้านให้ตั้งกรรมการ แต่ถ้าคาบเกี่ยว ผมไม่ขัดข้อง คุณพี่วิรัช และท่านผู้รู้ช่วยตอบด้วยครับ ตามกฏ43 บอกว่าติดต่อและคาบเกี่ยว ต้องตั้งกรรมการ
ความคิดเห็นที่ 2 จากคุณ หนุ่มดอยหลวง เมื่อวันที่ 6/8/2552 17:29:43

จากกรณีซึ่งเป็นข้อสงสัยนี้ ขอให้พิจารณาจากข้อความซึ่งปรากฎใน กฎกระทรวงฉบับที่ ๔๓ (พ.ศ.๒๕๓๗) หมวด ๒ ข้อ ๑๐ (๒)และ(๓) แล้วจึงขอให้ความเห็นดังนี้
๑.จากข้อความตาม ข้อ ๑๐(๓) สามารถแยกประเด็นเกี่ยวกับข้อสงสัย ของคุณหนุ่มดอยหลวงได้ดังนี้
๑.๑ ให้พิจารณาจากเขตตำบล ของแปลงที่ดินซึ่งทำการรังวัดออกโฉนด เป็นหลัก ถ้าที่ดินนั้นอยู่ในเขตตำบลที่มีเขตป่าสงวน..ฯลฯ ไม่ว่าจะติดต่อคาบเกี่ยว(ไม่ใช่ติดต่อและคาบเกี่ยว) หรืออยู่ในเขตป่าสงวน..ฯลฯ แม้ว่าจะได้มีการขีดเขตป่าในระวางแล้ว และ ป่าไม้มารับรองแล้วว่าอยู่นอกเขตป่าก็ตาม ถึงอย่างไรก็จะต้องตั้งคณะกรรมการร่วมตรวจพิสูจน์อยู่ดี เนื่องจากกฎกระทรวงดังกล่าว มิได้ให้อำนาจในการตัดสินขึ้นอยู่กับ เจ้าหน้าที่ป่าไม้แต่เพียงฝ่ายเดียว แต่อำนาจในการพิจารณาเป็นของ ผู้ว่าราชการจังหวัด โดยคณะกรรมการมีหน้าที่ตรวจพิสูจน์ และเสนอความเห็น เท่านั้น
๑.๒ หากที่ดินซึ่งทำการรังวัดออกโฉนดนั้น ไม่อยู่ในเขตตำบลที่มีเขตป่าสงวน..ฯลฯ ไม่ว่าจะได้มีการขีดเขตป่าสงวน..ฯลฯ ในระวางแล้วหรือไม่ ก็ไม่ต้องตั้งคณะกรรมการร่วมตรวจพิสูจน์ ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔๓ หากปรากฎว่ามีข้างเคียง"ติดต่อคาบเกี่ยว" กับเขตป่าสงวน..ฯลฯ ก็ให้ดำเนินการเหมือนเป็นเจ้าของที่ดินข้างเคียง เท่านั้น แล้วปฏิบัติตาม ข้อ ๑๐(๒) ต่อไป
๒.คำว่า"ติดต่อคาบเกี่ยว" น่าจะมีความหมายว่า ติดกัน , จดกัน , อาจจะทั้งติดหรือมีบางส่วนยื่นเกยเข้าไป(ในเขตป่า)ด้วย ดังนั้นตามกฎกระทรวง จึงกำหนดให้ต้องตั้งคณะกรรมการตรวจพิสูจน์เพื่อร่วมกันวินิจฉัย ก่อนเสนอความเห็นให้ ผู้ว่าฯ พิจารณา

ขอขอบคุณข้อมูลจากสำนักมาตรฐานและส่งเสริมการรังวัด
http://svstandard.dol.go.th/report/smswebbroad/aspboard_Question.asp?GID=19

คณะกรรมการกฤษฎีกาห ลักเกณฑ์การออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ ตามมาตรา 59 ตรี แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน






เลขเสร็จ
174/2534
เรื่อง
บันทึก
เรื่อง หลักเกณฑ์การออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
ตามมาตรา 59 ตรี แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน
--------
เนื้อหา
กรมที่ดินได้มีหนังสือ ด่วนที่สุด ที่ มท 0711/19879 ลงวันที่ 27 กันยายน
2533 ถึงสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ความว่า ในการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ
รับรองการทำประโยชน์ถ้าปรากฏว่า เนื้อที่ที่ทำการรังวัดใหม่แตกต่างไปจากเนื้อที่ตาม
ใบแจ้งการครอบครองตามมาตรา 5*(1) แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมาย
ที่ดิน พ.ศ. 2497 แล้ว ประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา 59 ตรี*(2) ได้บัญญัติให้พนักงาน
เจ้าหน้าที่พิจารณาออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินให้ได้เท่าจำนวนเนื้อที่ที่ได้ทำประโยชน์
ทั้งนี้ ตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด ซึ่งคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติได้กำหนด
ระเบียบไว้แล้วในฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2532) ว่าด้วยเงื่อนไขการออกโฉนดที่ดินหรือ
หนังสือรับรองการทำประโยชน์
-----------------------------------------------------------------
*(1) _พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497_
มาตรา 5 ให้ผู้ที่ได้ครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินอยู่ก่อนวันที่
ประมวลกฎหมายที่ดินใช้บังคับ โดยไม่มีหนังสือสำคัญแสดงกรรมสิทธิ์ที่ดิน แจ้งการ
ครอบครองที่ดินต่อนายอำเภอท้องที่ภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้
ใช้บังคับ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่รัฐมนตรีกำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
การแจ้งการครอบครองตามความในมาตรานี้ไม่ก่อให้เกิดสิทธิขึ้นใหม่
แก่ผู้แจ้งแต่ประการใด
*(2) _ประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศของคณะปฏิวัติ_
_ฉบับที่ 96 ลงวันที่ 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2515_
มาตรา 59 ตรี ในการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
ถ้าปรากฏว่าเนื้อที่ที่ทำการรังวัดใหม่แตกต่างไปจากเนื้อที่ตามใบแจ้งการครอบครอง
ตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497 ให้พนักงาน
เจ้าหน้าที่พิจารณาออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินให้ได้เท่าจำนวนเนื้อที่ที่ได้ทำประโยชน์
ทั้งนี้ ตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด
ในทางปฏิบัติตามนัยมาตราดังกล่าวเจ้าหน้าที่มีความเห็นเป็น 2 ฝ่าย ดังนี้
ฝ่ายที่หนึ่งเห็นว่า
(1) มาตรา 59 ตรี เป็นเรื่องการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการ
ทำประโยชน์เฉพาะรายตามมาตรา 59*(3) และมาตรา 59 ทวิ*(4) แห่งประมวล
-----------------------------------------------------------------
*(3) _ประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศของคณะปฏิวัติ _
_ฉบับที่ 96 ลงวันที่ 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2515_
มาตรา 59 ในกรณีที่ผู้มีสิทธิครอบครองที่ดินมาขอออกโฉนดที่ดินหรือ
หนังสือรับรองการทำประโยชน์เป็นการเฉพาะรายไม่ว่าจะได้มีประกาศของรัฐมนตรี
ตามมาตรา 58 แล้วหรือไม่ก็ตาม เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่พิจารณาเห็นสมควร ให้
ดำเนินการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ แล้วแต่กรณี ได้ตาม
หลักเกณฑ์และวิธีการที่ประมวลกฎหมายนี้กำหนด
เพื่อประโยชน์แห่งมาตรานี้ ผู้มีสิทธิครอบครองที่ดินตามวรรคหนึ่งให้
หมายความรวมถึงผู้ซึ่งได้ครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินต่อเนื่องมาจากผู้ซึ่งมี
หลักฐานการแจ้งการครอบครองด้วย
*(4) _ประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยประกาศของคณะปฏิวัติ _
_ฉบับที่ 96 ลงวันที่ 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2515_
มาตรา 59 ทวิ ผู้ซึ่งครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินอยู่ก่อนวันที่ประมวล
กฎหมายนี้ใช้บังคับโดยไม่มีหนังสือสำคัญแสดงกรรมสิทธิ์ที่ดินและมิได้แจ้งการครอบครอง
ตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497 แต่ไม่รวมถึง
ผู้ซึ่งมิได้ปฏิบัติตามมาตรา 27 ตรี ถ้ามีความจำเป็นจะขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ
รับรองการทำประโยชน์เป็นการเฉพาะราย เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่พิจารณาเห็นสมควร
ให้ดำเนินการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ แล้วแต่กรณีได้ตาม
หลักเกณฑ์และวิธีการที่ประมวลกฎหมายนี้กำหนด แต่ต้องไม่เกินห้าสิบไร่ ถ้าเกินห้าสิบไร่
จะต้องได้รับอนุมัติจากผู้ว่าราชการจังหวัด ทั้งนี้ ตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด
เพื่อประโยชน์แห่งมาตรานี้ ผู้ครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินตาม
วรรคหนึ่ง ให้ความหมายรวมถึงผู้ซึ่งได้ครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินต่อเนื่องมา
จากบุคคลดังกล่าวด้วย
กฎหมายที่ดิน เพราะมาตรา 59 ตรี เป็นบทบัญญัติที่สืบเนื่องมาจากมาตรา 59 และ
มาตรา 59 ทวิ ดังนั้น จึงไม่อาจนำมาตรา 59 ตรี ไปใช้บังคับเกี่ยวกับการออกโฉนด
ที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ตามมาตรา 58*(5) และมาตรา 58 ทวิ*(6)
เรื่องการเดินสำรวจออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ได้
-------------------------------------------------------------
*(5) ประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไข
เพิ่มเติมประมวลกฎหมายที่ดิน (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2528
มาตรา 58 เมื่อรัฐมนตรีเห็นสมควรจะให้มีการออกโฉนดที่ดินหรือ
หนังสือรับรองการทำประโยชน์ในจังหวัดใดในปีใด ให้รัฐมนตรีประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษากำหนดจังหวัดที่จะทำการสำรวจรังวัดทำแผนที่หรือพิสูจน์สอบสวน
การทำประโยชน์สำหรับปีนั้น เขตจังหวัดที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดไม่รวมท้องที่
ที่ทางราชการได้จำแนกให้เป็นเขตป่าไม้ถาวร
เมื่อได้มีประกาศของรัฐมนตรีตามวรรคหนึ่ง ให้ผู้ว่าราชการจังหวัด
กำหนดท้องที่และวันเริ่มต้นของการเดินสำรวจรังวัดในท้องที่นั้นโดยปิดประกาศไว้
ณ สำนักงานที่ดิน ที่ว่าการอำเภอ ที่ว่าการกิ่งอำเภอ ที่ทำการกำนัน และที่ทำการ
ผู้ใหญ่บ้านแห่งท้องที่ก่อนวันเริ่มต้นสำรวจไม่น้อยกว่าสามสิบวัน
เมื่อได้มีประกาศของผู้ว่าราชการจังหวัดตามวรรคสอง ให้บุคคลตาม
มาตรา 58 ทวิ วรรคสอง หรือตัวแทนของบุคคลดังกล่าวนำพนักงานเจ้าหน้าที่หรือ
ผู้ซึ่งพนักงานเจ้าหน้าที่มอบหมายเพื่อทำการสำรวจรังวัดทำแผนที่หรือพิสูจน์สอบสวน
การทำประโยชน์ในที่ดินของตนตามวันและเวลาที่พนักงานเจ้าหน้าที่ได้นัดหมาย
ฯลฯ ฯลฯ
*(6) _ประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติม_
_ประมวลกฎหมายที่ดิน (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2528_
มาตรา 58 ทวิ เมื่อได้สำรวจรังวัดทำแผนที่หรือพิสูจน์สอบสวนการทำ
ประโยชน์ในที่ดินตามมาตรา 58 แล้ว ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ
รับรองการทำประโยชน์ แล้วแต่กรณี ให้แก่บุคคลตามที่ระบุไว้ในวรรคสอง เมื่อปรากฏว่า
ที่ดินที่บุคคลนั้นครอบครองเป็นที่ดินที่อาจออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
ได้ตามประมวลกฎหมายนี้
[มีต่อหน้าถัดไป]
(2) มาตรา 59 ตรี มิได้บัญญัติให้นำบทบัญญัติในมาตรา 58 และ
มาตรา 58 ทวิ มาใช้บังคับทำนองเดียวกับมาตรา 59 จัตวา*(7) และมาตรา 59
เบญจ*(8) กล่าวคือ ถ้ามาตรา 59 ตรี ประสงค์จะให้นำหลักเกณฑ์ตามมาตรา 59 ตรี
ไปใช้บังคับเกี่ยวกับการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์โดยวิธีเดิน
สำรวจตามมาตรา 58 และมาตรา 58 ทวิ ด้วยแล้ว ก็น่าจะได้บัญญัติไว้ให้ชัดแจ้ง
ทำนองเดียวกับมาตรา 59 จัตวา และมาตรา 59 เบญจ
--------------------------------------------------------------
[ต่อจากเชิงอรรถที่ (6)]
บุคคลซึ่งพนักงานเจ้าหน้าที่อาจออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำ
ประโยชน์ตามวรรคหนึ่งให้ได้ คือ
(1) ผู้ซึ่งมีหลักฐานการแจ้งการครอบครองที่ดิน มีใบจอง ใบเหยียบย่ำ
หนังสือรับรองการทำประโยชน์ โฉนดตราจอง ตราจองที่ตราว่า "ได้ทำประโยชน์แล้ว"
หรือเป็นผู้มีสิทธิตามกฎหมายว่าด้วยการจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ
(2) ผู้ซึ่งได้ปฏิบัติตามมาตรา 27 ตรี
(3) ผู้ซึ่งครอบครองที่ดินและทำประโยชน์ในที่ดินภายหลังวันที่ประมวล
กฎหมายนี้ใช้บังคับ และไม่มีใบจอง ใบเหยียบย่ำ หรือไม่มีหลักฐานว่าเป็นผู้มีสิทธิตาม
กฎหมายว่าด้วยการจัดที่ดินเพื่อการครองชีพ
ฯลฯ ฯลฯ
*(7) ประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไข
เพิ่มเติมประมวลกฎหมายที่ดิน (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2528
มาตรา 59 จัตวา การออกโฉนดที่ดินตามมาตรา 58 ทวิ
มาตรา 58 ตรี และมาตรา 59 ถ้าหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินเดิมมีรายการภาระ
ผูกพัน หรือมีรายการเปลี่ยนแปลงผู้มีสิทธิในที่ดินในระหว่างดำเนินการออกโฉนดที่ดิน
ให้ยกรายการดังกล่าวมาจดแจ้งไว้ในโฉนดที่ดินด้วย
*(8) ประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติม
ประมวลกฎหมายที่ดิน (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2528
มาตรา 59 เบญจ การออกโฉนดที่ดินตามมาตรา 58 ทวิ และมาตรา 59
ให้ถือว่าหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินเดิมเป็นอันยกเลิก และให้ส่งหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน
ที่ยกเลิกแล้วนั้นคืนแก่เจ้าพนักงานที่ดิน เว้นแต่กรณีสูญหาย
ฝ่ายที่สองเห็นว่า
(1) หลักเกณฑ์การออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
ตามมาตรา 59 ตรี จะต้องนำไปใช้บังคับเกี่ยวกับเรื่องการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ
รับรองการทำประโยชน์ ทั้งวิธีการเดินสำรวจตามมาตรา 58 และมาตรา 58 ทวิ
และวิธีการออกเฉพาะรายตามมาตรา 59 และมาตรา 59 ทวิ เพราะความใน
มาตรา 59 ตรี มิได้บัญญัติแยกวิธีการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
ไว้ว่าให้ใช้บังคับได้เฉพาะกรณีใดกรณีหนึ่งเท่านั้น ดังนั้น จึงต้องนำมาตรา 59 ตรี
ไปใช้บังคับกับการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ได้ทั้งสองวิธี
(2) ถ้ามาตรา 59 ตรี ไม่ประสงค์จะให้ใช้บังคับแก่การออกโฉนดที่ดิน
วิธีใดวิธีหนึ่งโดยเฉพาะแล้ว ก็น่าจะบัญญัติยกเว้นไว้โดยชัดแจ้ง เมื่อมิได้บัญญัติยกเว้นไว้
ก็ต้องนำมาตรา 59 ตรี ไปใช้บังคับกับวิธีการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำ
ประโยชน์ทั้งสองวิธี ตามนัยดังกล่าวแล้วข้างต้น
กรมที่ดินพิจารณาแล้วเห็นว่า ปัญหาดังกล่าวเป็นปัญหาข้อกฎหมาย เพื่อ
ความถูกต้องในทางปฏิบัติจึงขอให้คณะกรรมการกฤษฎีกาพิจารณาวินิจฉัย
คณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย คณะที่ 7) ได้พิจารณา
ปัญหาดังกล่าวโดยรับฟังคำชี้แจงของผู้แทนกระทรวงมหาดไทย (กรมที่ดิน) แล้วเห็นว่า
หลักเกณฑ์ในการพิจารณากำหนดเนื้อที่เพื่อออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
ในกรณีที่มีปัญหาว่าเนื้อที่ที่ทำการรังวัดใหม่แตกต่างไปจากเนื้อที่ตามใบแจ้งการครอบครอง
ตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497 นั้น มาตรา
59 ตรี บัญญัติให้พนักงานเจ้าหน้าที่พิจารณาออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินให้เท่าจำนวน
เนื้อที่ที่ได้ทำประโยชน์ ทั้งนี้ ตามระเบียบที่คณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติกำหนด ซึ่งตาม
ระเบียบของคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2532) ว่าด้วยเงื่อนไข
การออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ ข้อ 8*(9) กำหนดว่า ถ้าที่ดิน
---------------------------------------------------------------
*(9) ระเบียบของคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2532)
ว่าด้วยเงื่อนไขการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
ข้อ 8 ในการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ ถ้าปรากฏ
ว่าที่ดินมีอาณาเขต ระยะของแนวเขตและที่ดินข้างเคียงทุกด้านถูกต้องตรงกับหลักฐาน
[มีต่อหน้าถัดไป]
มีอาณาเขต ระยะของแนวเขตและที่ดินข้างเคียงทุกด้านถูกต้องตรงกับหลักฐานการ
แจ้งการครอบครอง เชื่อได้ว่าเป็นที่ดินแปลงเดียวกัน แต่เนื้อที่ที่คำนวณได้แตกต่างกัน
ให้ออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์เท่าจำนวนเนื้อที่ที่ได้ทำประโยชน์
แล้วแต่ไม่เกินเนื้อที่ที่คำนวณได้ ดังนั้น จึงเห็นได้ว่า กรณีที่จะใช้บังคับมาตรา 59 ตรี
ได้จะต้องปรากฏว่าผู้มีสิทธิครอบครองที่ดินได้แจ้งการครอบครองที่ดินตามมาตรา 5
แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497 และเนื้อที่ที่รังวัดใหม่แตกต่าง
ไปจากเนื้อที่ตามใบแจ้งการครอบครองดังกล่าว และเมื่อพิจารณาประมวลกฎหมายที่ดิน
มาตรา 59*(10) ซึ่งบัญญัติว่า ที่ดินที่ขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์
เป็นการเฉพาะรายนั้น แม้ว่าเป็นที่ดินที่อยู่ในเขตที่รัฐมนตรีประกาศเป็นเขตเดินสำรวจ
รังวัดตามมาตรา 58*(11) ผู้มีสิทธิครอบครองที่ดินก็ยังขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ
รับรองการทำประโยชน์เป็นการเฉพาะรายได้ ดังนั้น เมื่อนำมาตรา 59 ตรี*(12)
ซึ่งเป็นเรื่องการคำนวณเนื้อที่เพื่อออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์มา
ใช้บังคับกับที่ดินที่ขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์เป็นการเฉพาะราย
----------------------------------------------------------------
[ต่อจากเชิงอรรถที่ (9)]
การแจ้งการครอบครองตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมาย
ที่ดิน พ.ศ. 2497 เชื่อได้ว่าเป็นที่ดินแปลงเดียวกัน แต่เนื้อที่ที่คำนวณได้แตกต่างไป
จากเนื้อที่ตามหลักฐานการแจ้งการครองครองดังกล่าว ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ออก
โฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์เท่าจำนวนเนื้อที่ที่ได้ทำประโยชน์แล้ว
แต่ไม่เกินเนื้อที่ที่คำนวณได้
ในกรณีที่ระยะของแนวเขตที่ดินผิดพลาดคลาดเคลื่อน ให้พนักงาน
เจ้าหน้าที่ออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์เท่าจำนวนเนื้อที่ที่ได้ทำ
ประโยชน์แล้วเมื่อผู้มีสิทธิในที่ดินข้างเคียงได้ลงชื่อรับรองแนวเขตไว้เป็นการถูกต้อง
ครบถ้วนทุกด้าน
*(10) โปรดดูเชิงอรรถ (3)
*(11) โปรดดูเชิงอรรถ (5)
*(12) โปรดดูเชิงอรรถ (2)
ตามมาตรา 59 แล้ว หากไม่นำหลักเกณฑ์ตามมาตรา 59 ตรี มาใช้บังคับกับ
ที่ดินแปลงอื่น ๆ ที่รัฐมนตรีประกาศเป็นเขตเดินสำรวจรังวัดตามมาตรา 58 และ
มาตรา 58 ทวิ ซึ่งผู้มีสิทธิครอบครองที่ดินมิได้ขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรอง
การทำประโยชน์เป็นการเฉพาะราย ผลที่เกิดขึ้นก็คือจะเป็นการใช้บังคับกฎหมาย
ไม่เหมือนกันทั้ง ๆ ที่เป็นที่ดินที่อยู่ในเขตที่รัฐมนตรีประกาศเป็นเขตเดินสำรวจ
รังวัดเหมือนกัน อีกทั้งเมื่อมีปัญหาในการคำนวณเนื้อที่ผิดไปจากเนื้อที่ตามใบแจ้ง
การครอบครองตามมาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน
พ.ศ. 2497 ก็จะเกิดปัญหาในทางปฏิบัติกับเจ้าหน้าที่ว่าจะกำหนดเนื้อที่โดยใช้
หลักเกณฑ์อะไร
อนึ่ง การออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์โดยวิธี
การเดินสำรวจรังวัดตามมาตรา 58 และมาตรา 58 ทวิ นั้น ถ้าผู้ซึ่งครอบครอง
ที่ดินอยู่ภายในจังหวัดที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดให้มีการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือ
รับรองการทำประโยชน์ ได้แจ้งการครอบครองไว้โดยชอบตามมาตรา 5 แห่ง
พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497 ดังที่บัญญัติไว้ตาม
มาตรา 58 ทวิ วรรคสอง (1)*(13) เมื่อทางราชการเดินสำรวจรังวัดเพื่อ
ออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ หากปรากฏว่าเนื้อที่ตามใบแจ้ง
การครอบครองไม่ตรงกับเนื้อที่ที่รังวัดใหม่ ย่อมต้องนำหลักเกณฑ์ในการคำนวณ
เนื้อที่ดินที่แตกต่างไปตามมาตรา 59 ตรี มาใช้บังคับ ส่วนกรณีการออกโฉนดที่ดิน
หรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์โดยวิธีการออกเฉพาะรายตามมาตรา 59 ทวิ
นั้น เป็นกรณีที่ผู้ซึ่งครอบครองที่ดินมิได้แจ้งการครอบครองตามมาตรา 5 แห่ง
พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. 2497 จึงไม่มีกรณีที่จะใช้
มาตรา 59 ตรี บังคับได้
ด้วยเหตุผลดังกล่าว คณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย
คณะที่ 7) จึงเห็นว่า หลักเกณฑ์การกำหนดเนื้อที่เพื่อออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรอง
การทำประโยชน์ตามมาตรา 59 ตรี ใช้บังคับกับการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรอง
-----------------------------------------------------------------
*(13) โปรดดูเชิงอรรถที่ (6)
การทำประโยชน์ ทั้งวิธีการเดินสำรวจรังวัดตามมาตรา 58 และมาตรา 58 ทวิ
และวิธีการขอออกเฉพาะรายตามมาตรา 59 หาใช่บัญญัติไว้เพื่อใช้กับกรณีตาม
มาตรา 59 และมาตรา 59 ทวิ โดยเฉพาะไม่
(ลงชื่อ) ม. ตันเต็มทรัพย์
(นายไมตรี ตันเต็มทรัพย์)
รองเลขาธิการฯ
ปฏิบัติราชการแทน เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา
สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
มีนาคม 2534.
_ _ __ไพบูลย์ - คัด/ทาน__

ระเบียบคณะกรรมการจัดที่ดินเเห่งชาติฉบับที่ 12



ข้อกฎหมาย

Item Thumbnail



Item Thumbnail


Item Thumbnail




มาตรา59ตรี หากเนื้อที่ใหม่ต่างจาก ส.ค.๑ให้ออกเท่าที่ทำประโยชน์โดยปฏิบัติไปตาม ระเบียบคณะกรรมการจัดฯ ฉ.12..ซึ่งระบุว่าถ้าออกตาม 59ตรี มีระยะและข้างเคียงตรงตาม ส.ค.๑ ออกเท่าที่ทำประโยชน์แล้วแต่ไม่เกินจำนวนที่คำนวณได้...ตรงนี้ไม่โอกาสเป็นไปไม่ได้ ระยะกว้างยาวอย่างละเส้น วัดใหม่ได้อย่างละเส้น ข้างเคียงตรงกับ ส.ค.๑ ออกได้เลย 1 ไร่ แต่ถ้าทำประโยชน์แล้วคำนวณได้แค่2งาน ก็ให้ออกได้แค่2งาน ส่วนที่เหลืออีก2งานไม่ออกให้....จึงมีขยักที่สอง...หากระยะผิดพลาดคลาดเคลื่อน...ออกเท่าที่ทำประโยชน์โดยต้องมีการรับรองเขตครบ....คำว่ารับรองเขตครบเป็นอย่างไร ได้ขยายความไว้ใน

ข้อ9 ของระเบียบฯ....จดป่าหรือที่รกร้างว่างเปล่า...ใช้ระยะเป็นหลัก....เพราะไม่สามารถพิสูจน์ไปได้ไกลขนาดใหนถึงจะถึงป่าหรือที่รกร้างว่างเปล่า เท่ากับในขณะที่แจ้ง.....ซึ่งก่อให้เกิดสิทธิตาม ป.ที่ดินเท่ากับขณะที่แจ้ง..ส่วนที่ไม่ได้แจ้ง ไม่ก่อให้เกิดสิทธิ "คำว่าออกโฉนดต้องมีการรับรองเขตให้ครบ แล้วขยายคำว่าครบเป็นอย่างไรนั้น" เลยถูกนำมาใช้ทุกกรณี....โดยคิดว่าเป็นวิธีที่ปลอดภัยถูกต้องแล้ว....และก็รักษาสิทธิให้ข้างเคียงจัง....ทำให้ข้างเคียงหรือทุกส่วน มองเป็นหน้าที่ของที่ดินไปเสียแล้ว


Item Thumbnail

ดูชัดๆเลยครับ 12 ข้อ 10 กรณีที่ด้านใหนติดป่าหรือที่รกร้างว่างเปล่า

ความหมายน่าจะพูดถึงที่ดินที่จดที่ว่างเปล่าบนข้อเท็จจริงตามปัจุบัน ไม่ใช้ในสค1ระบุอย่างไรก็ถือตามนั้น กรมที่ดินควรตั้งกรรมการขึ้นมาสอบสวนเพื่อหาข้อเท็จจริงเพื่อหาข้อยุติในการบริการประชาชน



Item Thumbnail


ท่านอธิบดีครับฉ12ข้อ8 วรรค 2 กรมสั่งไม่ให้ใช้หรือครับ


ระเบียบคณะกรรมการจัดที่ดินเเห่งชาติฉบับที่ 12 ข้อ 8 วรรค 2

กรณีที่ระยะเเนวเขคผิดพลาดคลาดเคลื่อน ให้พนักงานที่ออกโฉนดหรือหนังสือรับรองการทําประโยชน์เท่าจํานวนเนื้อที่ได้ทําประโยชน์เเล้วเมื่อผู้มีสิทธิ์ในที่ดินข้างเคียงได้ลงชื่อรับรองเเนวเขตไว้เป็นการถูกต้องครบถ้วนทุกด้าน