กฎหมาย ของประเทศเเต่ละจังหวัดจะใช้กฎหมายฉบับเดียวกันตามที่รัฐธรรมนูญไทยเขียนไว้ว่ารัฐไทยเป็นรัฐๆเดี่ยวจะเเบ่งเเยกไม่ได้เเต่ที่ดินจังหวัดภูเก็ตใช้กฎหมายคนละฉบับกับที่ดินทั่วประเทศ
คนจนเวลาไม่ได้รับความเป็นธรรม มันจุกอกหายใจไม่ออก เฝ้าถามตัวเองว่าเพราะเกิดมาจน จึงไม่ได้รับความเป็นธรรม
ข้าพเจ้าด้วยความน้อยเนื้อตํ่าใจในวาสนาที่ฝันว่าจะได้มีโฉนดจากที่ดินที่ทํามาหากินมาด้วยความสุจริตเเละยังอุทิศที่ผ่ากลางที่ให้เป็นทางสาธารณะด้วยใจที่เห็นใจเพื่อนมนุษย์ด้วยกันข้าพเจ้ายังมีกําลังใจเพราะข้าพเจ้าเชี่อในกรรม ดีที่ทํามาตลอดเเละข้าพเจ้าเชื่อโดยสุจริตว่าที่ดินของข้าพเจ้าไม่ติดที่ป่าหรือที่รกร้าง ข้าพเจ้าจึงขอวิงวอนเเละขอถามท่านนายกว่า ทำไมถึงมีการรับรองเเนวเขตครบทุกด้านรวมถึงผู้ว่าราชการจังหวัดตั้งคณะกรรมการ ตามกฎกระทรวงฉบับที่43 มีมติว่า สค 1 ถูกต้อง ออกให้ผู้ขอ ได้เต็มเเปลงเเละที่ดินข้างเคียงไม่เป็นที่หลวงหวงห้ามเเต่อย่างใดและข้าพเจ้าไม่เข้าใจเหมือนกันว่า ประกาศครบ30วันไม่มีผู้ใดโต้เเย้งคัดค้านเมื่อเจ้าพนักงานที่ดิน พิสูจน์ไม่ได้ว่าสค1 จดที่ว่างเปล่าทําไม.ข้าพเจ้าต้องกันระยะที่ดินออกไป5ไร่ทั้งที่ข้าพเจ้าไม่ได้ทําผิด..และหากเจ้าหน้าที่ที่ดินเชื่อว่าสค1-ของข้าพเจ้าจดป่า ทําไมถึงออกประกาศ 30 วันไม่มีผู้โต้เเย้งสิทธิซึ้งเป็นขั้นตอนสุดท้ายก่อนออกโฉนด

ซึ้งตามกฎหมาย ในเมื่อข้างเคียงมิได้ใช้สิทธิ์คัดค้านนำชี้เขตหรือนำรังวัดหรือให้ถ้อยคำต่าง ๆก็ต้องพิจารณาว่ามีกฏหมายหรือระเบียบให้อำนาจพนักงานเจ้าหน้าที่ดำเนินการอย่างไรหรือไม่ซึ่งก็คือตามนัยดังกล่าว

ระวางแผนที่เพื่อการออกโฉนดที่ดินเเปลงนี้




Item Thumbnailบั

ระวางแผนที่เพื่อการออกโฉนดที่ดินเเปลงนี้ บันทึกข้างเคียงเปลี่ยนเเปลง( ทด 16) ดูเอกสาร

ตามข้อ15(1)เเละ(2)ตามกฎกระทรวง ฉบับที่43 2537ออกตามพระราชบัญญัติให้ใช้ประมาลกฎหมายที่ดินพศ2497เเละข้อ6วรรคหนึ่งของระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรังวัดปลักหลักหมายเขตที่ดินพศ2527


โฉนดที่ดิน สีส้ม มีถนนตรงกลางข้าพอุทิศให้เป็นทางสาธรณะ

สีฟ้า ช้างเคียงโดยรอบ ในสค1 เขียนว่า


ชึ้งใน สค 1ระบุว่า ทิศเหนือจด ที่ดินว่างเปล่า ปัจุบัน ข้อเท็จจริง ได้ออก นส 3 ก

ใน สค 1ระบุ ทิศใต้จด ที่ดินว่างเปล่า ปัจุบัน ข้อเท็จจริง ที่ครอบครอง นาย รัตน์ ดูเอกสาร

ใน สค 1ระบุ ทิศตะวันออก จด ที่ดินนายไข่ ไชยศรี

ปัจุบัน ข้อเท็จจริง จด ที่ดินนายไข่ ไชยศรี

ใน สค 1ทิศตะวันตกจด ที่ดินว่างเปล่า ปัจุบัน ข้อเท็จจริง ที่ครอบครอง นางพรวิไล


ขั้นตอนการออกโฉนดที่ดินเฉพาะราย

1. รับบัตรคิวจากประชาสัมพันธ์
2.ชี้ระวางแผนที่
3. รับคำขอ สอบสวน ชำระเงินค่าธรรมเนียม
4. ฝ่ายรังวัดดำเนินการ นัดทำการรังวัด กำหนดตัวช่างรังวัด
5. ค้นหารายชื่อเจ้าของที่ดินข้างเคียง และพิมพ์หมายข้างเคียง

6. รับหมายแจ้งเจ้าของที่ดินข้างเคียง วางเงินมัดจำรังวัดรับหลักเขตที่ดิน

ข้างเคียงลงชื่อรับรองเเนวเขตครบทุกด้านถูกต้องดูเอกสาร รับรองสําเนาถูกต้องโดยที่ดิน

7. ช่างรังวัดออกไปทำการรังวัด พิสูจน์สอบสวนการทำประโยชน์ที่ดิน

8. คำนวณเนื้อที่ และเขียนรูปแผนที่โฉนดที่ดิน
9. เจ้าพนักงานที่ดินประกาศการแจกโฉนดที่ดิน 30 วัน

ประกาศครบ30วัน ไม่มีผู้ใดโต้เเย้งคัดค้าน

10. ประกาศแจกที่ดินให้ปิดในที่เปิดเผย ณ สำนักงานที่ดินท้องที่ สำนักงานเขตหรือที่ว่าการอำเภอ หรือที่ว่าการกิ่งอำเภอท้องที่ ที่ทำการแขวงหรือที่ทำการกำนันท้องที่และในบริเวณที่ดินนั้นแห่งละหนึ่งฉบับ ในเขตเทศบาลให้ปิดไว้ ณ สำนักงานเทศบาลอีกหนึ่งฉบับ

ประกาศครบ30วัน ไม่มีผู้ใดโต้เเย้งคัดค้าน

11. เสนอเรื่องขออนุมัติผู้ว่าราชการจังหวัด กรณีขอออกโฉนดที่ดินโดยมิได้แจ้งการครอบครองหรือกรณีเนื้อที่เกิน 50 ไร่ ตามมาตรา 59 ทวิ แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน

ที่เเปลงนี้มีสค1
12. ส่งเรื่องให้คณะกรรมการตามกฎกระทรวงฉบับที่ 43 ตรวจสอบกรณีที่ดินอยู่ในเขตป่าไม้

คณะกรรมการตามกฎกระทรวงฉบับที่43 สค 1 ถูกต้อง ออกให้ผู้ขอ ได้เต็มเเปลง ดูเอกสาร

-ป่าไม้รับรองไม่ติดอยู่ในเขตป่าไม้ถาวรตามมติคณะรัฐมนตรี ดูเอกสาร ทั้งนี้ ไม่ปรากฏข้อเท็จจริงในหนังสือดังกล่าวว่าเจ้าหน้าที่ป่าไม้หรือผู้ใดโต้แย้งสิทธิในที่ดินถ้าข้อเท็จจริงจดป่าป่าไม้ละเว้นการปฎิบัติหน้าที่โดน157เพราะไม่โต้เเย้งสิทธิเเละเป็นหนึ่งในคณะ-

กรรมการตามกฎกระทรวงตามกฎ43ที่ลงมติรับรองที่เเปลงนี้

ที่ดินว่างเปล่าทางทิศ เหนือ ทิศใต้ เเละทิศตะวันตกซึ้งปรากฎในสค1 เเปลงนี้ ได้รับการรับรองจากผู้ปกครองท้องที่เเล้วว่าไม่เป็นที่ห่วงห้ามประเภทใดทั้งสิ้น

-มีการปักหมุดเขตเเน่นอนเเล้ว


13. เสนอเจ้าพนักงานที่ดินลงนามออกโฉนดที่ดินให้แก่ผู้ขอและแจ้งเจ้าของที่ดินมารับโฉนด

เเต่กลับออกคําสั่งให้กับผู้ขอ

"ห้ถือระยะที่ปรากฎในหลักฐานการเเจ้งการครอบครองเป็นหลักในการออกโฉนด" โดยอ้างเหตุ

สค1 จดที่รกร้างว่างเปล่าก็ต้องถือระเบียบคณะกรรมการจัดที่ดินเเห่งชาติฉบับที่ 12 ข้อ 10 ในกรณีที่ดินนั้นมีด้านหนึ่งด้านใดหรือหลายด้านจดที่ป่าหรือที่รกร้างว่างเปล่าเเละระยะที่วัดได้เกินกว่าระยะที่ปรากฎในหลักฐานเเจ้งการครอบครองให้ถือระยะที่ปรากฎในหลักฐานการเเจ้งการครอบครองเป็นหลักในการออกโฉนด

คําสั่งข้างตีนนี้ ถ้าผู้ปฎิบัติที่มีหน้าที่ต้องเข้าใจถึงขั้นตอนเเละระเบียบปฎิบัติของกฎหมายว่าอยู่ในขั้นตอนใหน ซึ้งเป็นขั้นตอนที่ปฎิบัติตามหน้าที่ตามที่กรมที่ดินใช้มานานเเล้วไม่ใช้ระเบียบใหม่ซึ้งกรมที่ดินได้ออกระเบียบลดขั้นตอนเพื่อให้ข้าราชการของกรมที่ดินได้บริการประชาชนให้ได้รับความสะดวกกรมคงเห็นว่า ขั้นตอนที่มีอยู่นั้นท็าให้การปฏิบัคิหน้าที่งานล่าช้า เเต่ก็เกิดคําถาม ว่ากรมที่ดินสํานักมาตราฐาน มีต๋าตอบให้ประชาชนว่าเเนวทางใหนที่ใช้ในการปฏิบัติงานที่ใช้กัน


ระเบียบกรมที่ดิน ว่าด้วยการปฏิบัติราชการเพื่อประชาชน พ.ศ. 2542 และประกาศกรมที่ดินเรื่องการลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการเพื่อประชาชน ลงวันที่ 15 กันยายน 2547

ระเบียบกรมที่ดินว่าด้วยการปฏิบัติราชการเพื่อประชาชน พ.ศ. 2542 ออกโดยอาศัยอำนาจตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการปฏิบัติราชการเพื่อประชาชนของหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2532 ซึ่งปัจจุบันระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ยกเลิกระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีบางฉบับ พ.ศ. 2546 เมื่อวันที่ 14 มกราคม 2546 ต่อมาคณะรัฐมนตรีได้มีมติในการประชุม เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2546 ให้ส่วนราชการดำเนินการลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ เพื่อประชาชนลง 30-50% จากที่กำหนดไว้ในปัจจุบัน ดังนั้น เพื่อเป็นการพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการประชาชน ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2546 และสอดคล้องตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 กรมที่ดินจึงได้ออกประกาศกรมที่ดิน เรื่อง การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการเพื่อประชาชน เมื่อวันที่ 15 กันยายน 2547 เพื่อปรับปรุงวิธีการปฏิบัติงาน และให้บริการของกรมที่ดินมีความสะดวก รวดเร็ว และตอบสนองความต้องการของประชาชน สำหรับรายละเอียดของระเบียบกรมที่ดิน ว่าด้วยการปฏิบัติราชการ เพื่อประชาชน พ.ศ. 2542 ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี และประกาศกรมที่ดิน เรื่อง การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ เพื่อประชาชนเมื่อวันที่ 15 กันยายน 2547

ตอบโดย ศูนย์ส่งเสริมประสิทธิภาพกรมที่ดิน ราชการบริหารส่วนกลาง

14. แจกโฉนดที่ดินให้ผู้ขอ

ขั้นตอนสุดท้ายข้อ14ประชาชนจึงไม่ต้องการมาออกโฉนดกันโดยความจริงใครบ้างไม่ต้องการออกโฉนด




---------------------------------------------------------------


นายกฯประกาศเชิญชวนประชาชนทุกคนทุกฝ่าย

ร่วมเดินหน้าปฏิรูประเทศไทย" ย้ำรับฟังทุกเสียง-ทุกความคิด


วันนี้ประเทศไทยต้องเดินหน้า แต่ความโกรธ ความเคียดแค้นและความชิงชัง ไม่สามารถสร้างอนาคตให้ประเทศไทยและลูกหลานไทยได้ ถึงเวลาแล้วที่เราจะปรองดองเพื่อปฏิรูปประเทศไทย รวมใจเป็นหนึ่งเพื่อปกป้องสถาบันหลักของชาติ สร้างความเสมอภาค สื่อสารถึงกันอย่างสร้างสรรค์ ค้นหาและยอมรับความจริง โดยมีการเมืองที่เป็นประชาธิปไตย มีประสิทธิภาพและโปร่งใส


เรียนท่านนายกรัฐมนตรี


เรี่อง ขอความเป็นธรรม

ข้าพเจ้านําสค1ที่ระบุระยะจดที่รกร้างว่างเปล่าทั้ง3ด้านเเละถ้าข้อเท็จจริง จดป่าหรือที่ว่างเปล่าจริงตามที่ทางที่ดินจังหวัดม ีหนังสือถึงข้าพเจ้า

โดยมีใจความว่า

"ฝ่ายทะเบียนพิจรณาเเล้ว กรณึสค1 มีข้างเคียงด้านหนี่งด้านใด หรือหลายด้านจดป่าหรือจดที่ดินรกร้างว่างเปล่า โดยใช้ระเบียบคณะกรรมการจัดที่ดินเเห่งชาติฉบับที่12พศ (2532)ข้อ10 ได้กําหนดให้พนักงานเจ้าหน้าที่ออกโฉนดที่ดินให้ตามระยะที่ปรากฎในสค1เท่านั้น "เอกสารประกอบ


การที่ข้าพเจ้าได้ขอออกโฉนดโดยอาศัยหลักฐาน สค 1 ถ้าปรากฏว่าเนื้อที่ที่ทำการรังวัดใหม่แตกต่างไปจากเนื้อที่ตามใบแจ้งการครอบครอง (สค1) จะต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามประมวลกฎหมายที่ดิน (. 2497) มาตรา ๕๙ ตรี ในการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ ถ้าปรากฏว่าเนื้อที่ที่ทำการรังวัดใหม่แตกต่างไปจากเนื้อที่ตามใบแจ้งการครอบครองตามมาตรา แห่งพระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายที่ดิน ..๒๔๙๗ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่พิจารณาออกหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินให้ได้เท่าจำนวนเนื้อที่ที่ได้ทำประโยชน์ ทั้งนี้ตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด รวมถึง


ข้าพเจ้าด้วยความน้อยเนื้อตํ่าใจในวาสนาที่ฝันว่าจะได้มีโฉนดจากที่ดินที่ทํามาหากินมาด้วยความสุตริตเเละยังอุทิศที่ผ่ากลางที่ให้เป็นทางสาธารณะด้วยใจที่เห็นใจเพื่อนมนุษย์ด้วยกันข้าพเจ้ายังมีกําลังใจเพราะข้าพเจ้าเชี่อในกรรม ดีที่ทํามาตลอด

เเละข้าพเจ้าเชื่อโดยสุจริตว่าที่ดินของข้าพเจ้าไม่ติดที่ป่าหรือที่รกร้าง ข้าพเจ้าจึงขอวิงวอนเเละขอถามท่านนายกว่า ทำไมถึงมีการรับรองเเนวเขตครบทุกด้านรวมถึงผู้ว่าราชการจังหวัดตั้งคณะกรรมการ ตามกฎกระทรวงฉบับที่43 มีมติว่า สค 1 ถูกต้อง ออกให้ผู้ขอ ได้เต็มเเปลงเเละที่ดินข้างเคียงไม่เป็นที่หลวงหวงห้ามเเต่อย่างใด และข้าพเจ้าไม่เข้าใจเหมือนกันว่า ประกาศครบ30วัน ไม่มีผู้ใดโต้เเย้งคัดค้านเมื่อเจ้าพนักงานที่ดิน พิสูจน์ไม่ได้ว่าสค1 จดที่ว่างเปล่าทําไม.ข้าพเจ้าต้องกันระยะที่ดินออกไป5ไร่ทั้งที่ข้าพเจ้าไม่ได้ทําผิด..และหากเจ้าหน้าที่ที่ดินเชื่อว่าสค1-ของข้าพเจ้าจดป่า ทําไมถึงออกประกาศ 30 วันไม่มีผู้โต้เเย้งสิทธิซึ้งเป็นขั้นตอนสุดท้ายก่อนออกโฉนดที่ิ ดินเเละที่สําคัญ ก็ต้องเเจ้งความดําเนินคดีกับ คณะกรรมการตามกฎกระทรวงฉบับที่43 ที่ีมีต้วเเทนที่ดินจังหวัด ร่วมอยู่ด้วย ในข้อหา ปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ เเ ละเว้นการปฎิบัติหน้าที่ (ม 157)เพราะที่ดินเชื่อว่าสค1เเปลงนี้จดที่ว่างเปล่าช้าพเจ้าไม่ต้องการเอาผิดกับใครเพราะทุกคนก็มีครอบครัวที่ต้องดูเเลเเต่ไม่อยากให้คนอื่นๆต้องมาเจอปัญหาเช่นนี้คนจนเวลาไม่ได้รับความเป็นธรรม มันจุกอกหายใจไม่ออก เฝ้าถามตัวเองว่าเพราะเกืดมาจน จึงไม่ได้รับความเป็นธรรมเห็นชัดว่าถูกเเต่ทําอะไรไม่ได้ หรือว่านี้คือปัญหาที่ได้ยินตามวิทยุว่า

ปฏิรูปประเทศไทยร่วมกันเเก้ไขจะได้ปฏิบัติเป็นมาตราฐานเดียวกัน


ด้วยความเคารพอย่างสูง

จรัญ หนูพู่

ขอความเป็นธรรมขั้นพี้นฐาน





ตามระเบียบของคณะกรรมการจัดที่ดินแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2532) ว่าด้วยเงื่อนไขการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ หมวด 2 ข้อ 10. บัญญัติไว้ว่า "ในกรณีที่ที่ดินนั้นมีด้านหนึ่งด้านใดหรือหลายด้านจดที่ป่าหรือที่รกร้างว่างเปล่า และระยะที่วัดได้เกินกว่าระยะที่ปรากฏในหลักฐานการแจ้งการครอบครอง ให้ถือระยะที่ปรากฏในหลักฐานการแจ้งการครอบครองเป็นหลักในการออกโฉนดหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์"

ส่วนข้อ 8. วรรคสองบัญญัติไว้ว่า "ในกรณีที่ระยะของแนวเขตที่ดินผิดพลาดคลาดเคลื่อน ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์เท่าจำนวนเนื้อที่ที่ได้ทำประโยชน์แล้ว เมื่อผู้มีสิทธิในที่ดินข้างเคียงได้ลงชื่อรับรองแนวเขตไว้เป็นการถู

ประชาชนจึงมีคําถาม


"ห้ถือระยะที่ปรากฎในหลักฐานการเเจ้งการครอบครองเป็นหลักในการออกโฉนด" โดยอ้างเหตุ

สค1 จดที่รกร้างว่างเปล่าก็ต้องถือระเบียบคณะกรรมการจัดที่ดินเเห่งชาติฉบับที่ 12 ข้อ 10 ในกรณีที่ดินนั้นมีด้านหนึ่งด้านใดหรือหลายด้านจดที่ป่าหรือที่รกร้างว่างเปล่าเเละระยะที่วัดได้เกินกว่าระยะที่ปรากฎในหลักฐานเเจ้งการครอบครองให้ถือระยะที่ปรากฎในหลักฐานการเเจ้งการครอบครองเป็นหลักในการออกโฉนด ถือว่าเจ้าหน้าที่ ดำเนินการรังวัดออก โฉนด. โดยมิชอบ

เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องต้องถูกลงโทษทางวินัยและอาญาเมื่อดูแล้ว ไม่ปรากฎว่ามีประเด็นว่าเป็นที่หลวงหวงห้าม แต่เป็นที่ดินรกร้างว่างเปล่า ประชาชนย่อมมีสิทธิ์เข้าไปครอบครองโดยเปิดเผยครับแม้ที่ว่างเปล่าได้สละการครอบครอง ผู้ครอบครองต่อมาย่อมได้รับ"สิทธิ์ครอบครอง"แล้วตามประมวลกฎหมายแพ่ง และสามารถนำที่ดินนั้นไปขอออกโฉนด โดยมิได้แจ้งการครอบครองได้เพราะไม่ใช่ที่หลวงหวงห้าม ซึ่งเป็นข้อห้ามการออกโฉนดตามประมวลกฎหมายที่ดินการพยายามบอกกับสังคมว่าเป็นที่หลวงต้องเอาคืน ไม่มีตรงไหนที่บอกว่า เป็นที่หลวง....มันเป็นการออกเอกสารสิทธิ์โดยมิชอบซึ่งมีหลากหลายสาเหตุแต่ที่ดินที่เข้าไปทำประโยชน์นั้น หากเป็นคนไทยเข้าไปทำประโยชน์โดยเปิดเผยต่อเนื่อง ย่อมได้สิทธิ์ครอบครองตามประมวลกฎหมายแพ่งฯอยู่แล้วการออกเอกสารสิทธิ์ให้เป็นเพียงเป็นการรับรองโดยทางราชการเท่านั้นเองคนเรียนกฎหมายย่อมซึมซับเรื่องสิทธิ์ในที่ดินและเอกสารสิทธิ์ เค้ารู้ว่ามันเป็นคนละเรื่องส่วนเจ้าของในปัจจุบันได้สิทธิ์นั้นโดยการครอบครองแล้วครับเพราะได้สิทธิ์ในที่ดินด้วยการเข้าทประโยชน์แล้วออกโฉนดได้ ไม่มีปัญหา...เป็นโฉนดใหม่นะครับ...( แต่จะเป็นโฉนดหลังแดง ห้ามโอน ห้ามซื้อขายภายใน 10 ปี เพราะไม่ได้แจ้งการครอบครอง )หากมีการเดินสำรวจทั้งตำบล ก็ขอออกโฉนดได้ นำทำการรังวัดได้เลยหากไม่มีการเดินสำรวจทั้งตำบล สามารถรอขอออกใบจอง แล้วนำใบจองไปขอออกโฉนดเฉพาะรายที่สำนักงานที่ดินโฉนดเก่า หรือ นส. 3 . เก่า ก็ยกเลิกไปเรื่องเอกสารสิทธิ์ กับสิทธิครอบครอง เป็นคนละเรื่องกันก่อนออกโฉนดใหม่หลังจากทำการสอบสวนและทำการรังวัดใหม่แล้ว ต้องปิดประกาศ 30 วัน หากไม่มีผู้คัดค้าน ก็ออกได้เลยหากมีผู้ร้องค้าน ก็จะเป็นเรื่องที่เจ้าพนักงานที่ดินเรียกทั้งสองฝ่ายมาไกล่เกลี่ยที่สำนักงานที่ดินหากตกลงกันได้ก็จบ ออกโฉนดได้ หากเจ้าพนักงานที่ดินเห็นว่าผู้ร้องค้านไม่มีเหตุผลเพียงพอ ก็สั่งออกโฉนดได้ ( เป็นดุลพินิจของเจ้าพนักงานที่ดิน )กรณีนี้หากผู้ร้องคัดค้านเห็นว่าเป็นการออกโฉนดโดยมิชอบ ก็ไปร้องต่อศาลเอาเอง
กรณีที่ 2 หากผู้ร้องคัดค้านไม่ยินยอม เจ้าพนักงานที่ดินเห็นตามผู้ร้องคัดค้าน ก็จะไม่ออกโฉนดให้ ( เป็นดุลพินิจของเจ้าพนักงานที่ดินเช่นกัน )ผู้ขอออกโฉนดก็นำเรื่องร้องต่อศาล...สุดท้ายศาลจะเป็นผู้พิจารณาว่าที่ดินดังกล่าว สามารถออกโฉนดให้แก่ผู้ร้องได้หรือไม่ท้ายที่สุดเรื่องจะไปจบลงที่ศาลทั้งนั้น หากเป็นไปตามนี้..เพราะมิใช่ กันระยะโดยเหตุ"ทับที่หลวง" แต่เป็นเรื่องออกเอกสารสิทธิ์โดยมิชอบซึ่งยังคงมีที่ดินบางแปลงมีกรณีพิพาทกันอยู่เจ้าหน้าที่ จะเป็นฝ่ายเสียหายซะเองยิ่งมาตอกย้ำว่า...สค1 จดที่รกร้างว่างเปล่า ต้องกันระยะ


ซึ้งตามกฎหมาย ในเมื่อข้างเคียงมิได้ใช้สิทธิ์คัดค้านนำชี้เขตหรือนำรังวัดหรือให้ถ้อยคำต่าง ก็ต้องพิจารณาว่ามีกฏหมายหรือระเบียบให้อำนาจพนักงานเจ้าหน้าที่ดำเนินการอย่างไรหรือไม่ซึ่งก็คือตามนัยดังกล่าว


กรณีปัญหาที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ เเต่เเนวทางปฎิบัติเเตกต่างจากจังหวัดภูเก็ต

ด้านนายจำลอง โพธิ์เพชร หัวหน้าสำนักงานที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี สาขาเกาะสมุย เปิดเผยว่า ที่ดินงอกกับที่ดินเพิ่มไม่เหมือนกัน ข้อเท็จจริงเป็นการเพิ่มจากการรังวัดตามแนวเขตที่ดิน ซึ่งตามแนวเขตในหนังสือส..1 ได้แสดงลักษณะผังที่ดินประกอบไว้เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า แต่การรังวัดเป็นโฉนดที่ดินต้องใช้วิธีการตรรกะ (การคำนวณกราฟ) ปักหมุดตามหลักเขต ฉะนั้นรูปที่ดินในโฉนดที่ออกมาจะเปลี่ยนไปตามแนวที่วัดได้และส่วนที่เพิ่มมา ต้องเป็นไปตามเขตที่ดินดังกล่าว

นายจำลองกล่าวว่า ไม่ใช่เรื่องแปลกที่การรังวัดโฉนดเป็นไปได้ทั้งเนื้อที่ลดหรือเพิ่มขึ้นจากเดิม แต่ต้องเป็นไปตามการรังวัดของเจ้าหน้าที่ และต้องได้รับคำยินยอมจากเจ้าของที่ดินข้างเคียงเซ็นชื่อรับทราบยอมรับในแนวเขตดังกล่าว อย่าลืมว่าที่ดินบนเกาะสมุยมีราคาแพงคงไม่มีใครยอมให้คนอื่นมาบุกรุกกินเนื้อที่ของตนไปแน่ และหากเจ้าของที่ข้างเคียงไม่ยอมเซ็นชื่อก็ออกโฉนดให้ผู้ขอไม่ได้


สื่อมวลชลให้ความสนใจในเรื่ิองนี้

ละเอียดข่าว


กาขาว [ 13 ]


หนังสือพิมพ์เสียงใต้รายวัน ประจำวันที่ 16 มิถุนายน ..2553... ขอเชิญชวนพสกนิกรร่วมกันแสดงถึงความจงรักภักดีและลงนามถวายพระพร...

สำรวจตัวเลขยื่นคำร้องขอกรรมสิทธิ์ที่ดินบนเกาะภูเก็ต 1,400 ราย ที่ออกเอกสารไม่ได้ เป็นปัญหาโลกแตกสำหรับเกาะภูเก็ตหลายมาตรฐาน อย่างที่มท.3” ถาวร เสนเนียม รมช.มหาดไทย ชี้ว่าเป็นปัญหาที่ลาดชัน-ควนเขา”...z กฎกระทรวงมหาดไทย ฉบับที่ 43”ให้อำนาจผู้ว่าฯแต่งตั้งคณะกรรมการประกอบด้วย ที่ดิน, ป่าไม้, นายอำเภอ, พัฒนาการที่ดิน และผู้ใหญ่บ้าน ร่วมกันตรวจสอบที่ดินที่มีปัญหา และการครอบครองก่อน ..2497 โดยเฉพาะ..1”...z ขั้นตอนนี้กรมที่ดินได้ประกาศให้ราษฎรที่ครอบครองขอออกโฉนดปัญหาที่จะถกเป็นประเด็นว่า..1”ที่ดินที่ครอบครองน้อยกว่าเป็นจริง เพราะการเลี่ยงภาษี”...z นี่เป็นประเด็นหนึ่งของการคอร์รัปชันคือ การต่อรองอามิสสินจ้างหรือขอส่วนแบ่งส่วนที่เกินในหลายรูปแบบ ความง่ายกลายเป็นยาก หรือความยากชาวบ้านขี้เกียจรำคาญกำขี่ดีกว่ากำตดเป็นเรื่องง่าย...z พูดถึงคณะกรรมการที่ผู้ว่าฯแต่งตั้ง ถือว่าร่วมฟันธงที่ดินแปลงไหนถูกหรือบุกรุกในเขตป่าสงวนแห่งชาติและที่ดินสาธารณะ เสนอรายงานต่อผู้ว่าฯมิใช่ว่าการแสดงความคิดเห็นส่วนตัวอคติเมื่อติดเขตที่ดินของใคร เซ็นรับรองแนวเขตหรือติดเขตป่าฯ ติดประกาศ 30 วัน ใครค้านแย้งได้...z ที่เกิดขึ้นที่ดินเห็นแย้งป่าไม้ไม่มีปัญหา นายอำเภอและผู้ใหญ่บ้าน เห็นพ้อง แต่เป็นว่าการเสนอความเห็นส่วนตัวขัดต่อความเป็นจริง นี่ก็ถือว่าต่ำกว่ามาตรฐานเออ...เวรจงระงับด้วยการไม่จองเวร ชาวบ้านตาดำๆมีสิทธิ์ไหมครับ เอวังด้วยประการฉะนี้...z โฉนดบินเพราะโจรในเครื่องแบบร่วมมือกันโกงสมบัติชาติไม่อยากจะพูดมาก หรือไปสอนสังฆราชกฎกระทรวง .43” หากเกิดการขัดแย้ง ขอให้ผู้ตรวจกรม-กระทรวง-สำนักนายกรัฐมนตรีลงมาร่วมตรวจสอบ เชื่อว่า 1,400 แปลง ขุดหาความจริงได้...z ย้ายกลับมาใหญ่ นิวิทย์ อรุณรัตน์ รองผู้ว่าฯภูเก็ตคนใหม่ (อดีตปลัดจังหวัด) คนภูเก็ต สับเปลี่ยนเก้าอี้กับ สมิทธิ์ ปาลวัฒน์วิไชย ย้ายไปเป็น รองผู้ว่าฯสุโขทัย ยินดีด้วย...z สนง. เขตพื้นที่การศึกษาภูเก็ต ถนัด ขวัญนิมิต ผู้อำนวยการ ย้ายไปเป็น ผอ.ฯเขต 2 พัทลุง ยกเก้าอี้ให้ ประไพ รัตนไพจิต ผอ.ฯร้อยเอ็ด คนเมืองคอนมานั่งแทน เพื่อรอเกษียณอายุ โชคดีเช่นกัน...z สนง.เหล่ากาชาดจังหวัดภูเก็ต จัดฝึกอบรมผู้ประสานงานการจัดหาบริการโลหิต คน RH (เลือดลบ) ระหว่างวันที่ 22-23 มิถุนายน ศกนี้ 2 วัน ที่โรงแรมเพิร์ลและโรงแรมภูเก็ตเมอร์ลิน.............

กาขาว

วันที่ : 15 มิ. 2553

ข้อมูล นสพ เสียงใต้

ภาพขนาดย่อของรายการ

กรณีที่ดินจังหวัดสุราษฎร์,พังงา,กระบี่,เลย เเนวทางปฎิบัติเเตกต่างจากจังหวัดภูเก็ต

การดำเนินการในการออกโฉนดที่ดิน กรณีเดินสำรวจออกโฉนดที่ดินตามโครงการเร่งรัดออกโฉนดที่ดินทั่วประเทศ หากกระบวนการในการรังวัดถูกต้อง ครบถ้วน ก็สามารถแจกโฉนดได้ภายในระยะเวลาของโครงการฯ แต่หากมีปัญหาในการดำเนินการของขั้นตอนการรังวัด เช่น การรับรองแนวเขตไม่ครบถ้วน ก็จะต้องส่งเรื่องราวให้สำนักงานที่ดินท้องที่ดำเนินการต่อ โดยต้องนัดรังวัดตรวจสอบใหม่ เพื่อแจ้งให้ข้างเคียงที่ดินที่ไม่ได้รับรองแนวเขตมาระวังชี้แนวเขต ถ้าหากการดำเนินการในส่วนต่าง ดังกล่าวครบถ้วนแล้ว ก็สามารถออกโฉนดได้โดยเร็ว

ตอบโดย สำนักงานที่ดินจังหวัดพังงา

ฝ่ายอํานวยการสํานักงานที่ดินจังหวัดกระบี่, พังงา เเละ กว จังหวัดเลย จังหวัด สุราษฎร์ ใช้ข้อเท็จจริง ต่างจากภูเก็ตยึดระยะตามสค1เป์นหลักไม่ใช้ข้อเท็จจริงที่เป็นปัจุบันผมเลยไม่เข้าใจเเต่ถ้าเป็นเเนวทางปฎิบัติเดียวกันประชาชนก็จะลดภาระไม่ต้องขึ้นศาลปกครองเพราะจะไม่มีความคิดว่าจังหวัดอื่นออกให้ครบเเต่จังหวัดเราถูกตัดระยะเลยตัองไปศาลปกครองเพราะที่ดินจังหวัดเเจ้งว่าเป็นคําสั่งทางปกครองให้ไปฟ้องศาลปกครองเลยคิดในใจนี่เราอยู่กับเพี่อนคนละรัฐเหมือนในอเมริการึเปล่าเพราะกฎหมายใชัคนละฉบับที่รู้มารัฐไทยเป็นรัฐเดี่ยวเเบ่งเเยกไม่ได้



---------------------------------------------------------------

------------------------------------------------------------


ปปช



กรณ๊ที่ที่ดินตั้งอยู่ในเขตป่าหรือคาบเกี่ยวเขตป่าไม้ ในชั้นออกหนังสือรับรองการทำประโยชน์ ..3. ได้ตั้งคณะกรรมการขึ้นไปตรวจสอบแล้วและคณะกรรมการมีความเห็นว่าควรออก ..3.ให้ผู้ขอได้แล้ว ต่อมาผู้ขอได้นำหลักฐาน ..3.ฉบับนั้นมาขอออกโฉนดที่ดิน จำเป็นจะต้องตั้งคณะกรรมการฯขึ้นไปทำการตรวจพิสูจน์อีกหรือไม่ อย่างไร


คณะกรรมการ ... พิจารณาแล้วเห็นว่า การกระทำของ นายสมนึก ไพบูลย์ เป็นความผิดทางวินัยอย่างร้ายแรง ฐานทุจริตต่อหน้าที่ และเป็นความผิดทางอาญา ฐานเป็น เจ้าพนักงาน ใช้อำนาจในตำแหน่งโดยมิชอบ ข่มขืนใจหรือจูงใจเพื่อให้บุคคลใดมอบให้หรือหามาให้ ซึ่งทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดแก่ตนเองหรือผู้อื่น และฐานเป็นเจ้าพนักงาน ปฏิบัติหรือละเว้นการ ปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 148 และมาตรา 157 จึงมีมติให้ส่ง รายงาน เอกสารและความเห็นไปยังผู้บังคับบัญชาและอัยการสูงสุดเพื่อดำเนินการทางวินัยและ ฟ้องผู้ถูกกล่าวหาเป็นคดีอาญาต่อศาล ต่อไป




ถ้ามาดูที่เเปลงนี้


กรณีกรณ๊ที่ที่ดินตั้งอยู่ในเขตป่าหรือคาบเกี่ยวเขตป่าไม้ ในชั้นออกหนังสือรับรองการทำประโยชน์ ได้ตั้งคณะกรรมการขึ้นไปตรวจสอบแล้วและคณะกรรมการมีความเห็นว่าควรออก โฉนด.ให้ผู้ขอได้แล้ว ต่อมาที่ิดินจังหวัดภูเก็ตได้เสนอความเห็นโดยไม่ใช้มติของคณะกรรมการตามกฎกระทรวงฉบับที่43 เสนอผู้ว่าซึ้งเป็นขั้นตอนที่ถูกต้อง 1 ใน5 ของคณะกรรมการมีที่ดินจังหวัดเป็นคณะกรรมการร่วมอยู่ด้วย ถ้าคณะกรรมการรับรองเเต่เจ้าที่ดินไม่รับรอง ดูเเล้วไม่ปฎิบัติตามขั้นตอนของกฎหมาย เป็นความผิดทางวินัยเเละใข้อํานาจโดยมิชอบ







ในฐานะเป็นคนไทยขอเป็นกําลังใจให้นายกทวงคืนเเผ่นดินไทยกลับมาในเร็ววัน

วันอาทิตย์ที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2563

วันที่ 02 มิถุนายน พ.ศ. 2553 เวลา 20:42:02 น.

ทําให้ประชาชนไม่ทราบว่าใช้มาตราฐานใหน
    ที่ดินจังหวัดภูเก็ต  มีคําสั่งว่า สค1 จดที่รกร้างว่างเปล่าก็ต้องถือระเบียบคณะกรรมการจัดที่ดินเเห่งชาติฉบับที่ 12 ข้อ 10 ในกรณีที่ดินนั้นมีด้านหนึ่งด้านใดหรือหลายด้านจดที่ป่าหรือที่รกร้างว่างเปล่าเเละระยะที่วัดได้เกินกว่าระยะที่ปรากฎในหลักฐานเเจ้งการครอบครองให้ถือระยะที่ปรากฎในหลักฐานการเเจ้งการครอบครองเป็นหลักในการออกโฉนด


าดูกรณีที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี สาขาเกาะสมุย 


        นายจำลอง โพธิ์เพชร หัวหน้าสำนักงานที่ดินจังหวัดสุราษฎร์ธานี สาขาเกาะสมุย เปิดเผยว่า ที่ดินงอกกับที่ดินเพิ่มไม่เหมือนกัน ข้อเท็จจริงเป็นการเพิ่มจากการรังวัดตามแนวเขตที่ดิน ซึ่งตามแนวเขตในหนังสือ ..1 ได้แสดงลักษณะผังที่ดินประกอบไว้เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า แต่การรังวัดเป็นโฉนดที่ดินต้องใช้วิธีการตรรกะ (การคำนวณกราฟ) ปักหมุดตามหลักเขต ฉะนั้นรูปที่ดินในโฉนดที่ออกมาจะเปลี่ยนไปตามแนวที่วัดได้และส่วนที่เพิ่มมา ต้องเป็นไปตามเขตที่ดินดังกล่าว
        นายจำลองกล่าวว่า ไม่ใช่เรื่องแปลกที่การรังวัดโฉนดเป็นไปได้ทั้งเนื้อที่ลดหรือเพิ่มขึ้นจากเดิม แต่ต้องเป็นไปตามการรังวัดของเจ้าหน้าที่ และต้องได้รับคำยินยอมจากเจ้าของที่ดินข้างเคียงเซ็นชื่อรับทราบยอมรับในแนวเขตดังกล่าว อย่าลืมว่าที่ดินบนเกาะสมุยมีราคาแพงคงไม่มีใครยอมให้คนอื่นมาบุกรุกกินเนื้อที่ของตนไปแน่ และหากเจ้าของที่ข้างเคียงไม่ยอมเซ็นชื่อก็ออกโฉนดให้ผู้ขอไม่ได้




       ต้องมี1ความเห็นที่ผิด

วันอังคารที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2553

วันอาทิตย์ที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2553

                                                                             คํารองที่   ๗๑๗/๒๕๕๒ 
                                                                                                    คําสั่งที่     ๑๙๒/๒๕๕๓ 
ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย 
   ศาลปกครองสูงสุด 
                                                วั 
นที่     ๘      เดือน มิถุนายน  พุทธศักราช ๒๕๕๓ 
  
   
 เรื่อง  คดีพิพาทเกี่ยวกับการที่เจาหนาที่ของรัฐกระทําการโดยไมชอบดวยกฎหมาย  
  (คํารองอุทธรณคําสั่งยุติการบังคับคดีตามคําพิพากษาของศาลปกครองชั้นตน) 
   
 ผูฟองคดีที่ ๒ ยื่นคํารองอุทธรณคําสั่ง ในคดีหมายเลขดําที่ ๑๕๔/๒๕๔๘ 
หมายเลขแดงที่ ๑๖๘/๒๕๕๑ ของศาลปกครองชั้นตน (ศาลปกครองนครศรีธรรมราช) 
  คดีนี้ผูฟองคดีทั้งสองไดยื่นฟองคดีตอศาลปกครองสูงสุดเปนคดีหมายเลขดํา 
ที่ ฟ. ๒๕/๒๕๔๗ โดยมีสองขอหา ขอหาที่หนึ่ง ขอใหเพิกถอนขอ ๑๔ (๓) ของกฎกระทรวง 
ฉบับที่ ๔๓ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ออกตามความในพระราชบัญญัติใหใชประมวลกฎหมายที่ดิน 
พ.ศ. ๒๔๙๗ ซึ่งอยูในอํานาจพิจารณาพิพากษาของศาลปกครองสูงสุด และขอหาที่สอง 
ขอใหไมใหนําขอ ๑๔ (๓) ของกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔๓ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ขางตน มาใชบังคับ 
แกกรณีของผูฟองคดีทั้งสอง และใหดําเนินการออกหนังสือรับรองการทําประโยชน (น.ส. ๓ ก.) 
คําสั่ง (ต. ๒๑) 
ระหวาง 
นายเกษม  แสงสวาง  ที่ ๑   
นายสิกรณ  ภูมิกําจร  ที่ 
 ๒ 
รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย  ที่ ๑ 
เจาพนักงานที่ดินจังหวัดภูเก็ต  ที่ 
 ๒     
ผูฟองคดี 

ผูถูกฟองคดี 

/แกผูฟองคดี… 


๒ 
แกผูฟองคดีทั้งสอง ซึ่งศาลปกครองสูงสุดพิจารณาแลว เห็นวา ขอหาที่สองเปนคดีพิพาท 
เกี่ยวกับการที่เจาหนาที่ของรัฐกระทําการโดยไมชอบดวยกฎหมายตามมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๑) 
แหงพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ และศาลปกครอง 
มีอํานาจกําหนดคําบังคับไดตามมาตรา ๗๒ แตอยูในอํานาจพิจารณาพิพากษาของศาลปกครอง 
ชั้นตนตามมาตรา ๑๐ แหงพระราชบัญญัติดังกลาว ศาลปกครองสูงสุดจึงไดสงคําฟองเฉพาะ 
ประเด็นตามขอหาที่สองมาใหศาลปกครองชั้นตนซึ่งเปนศาลที่มีเขตอํานาจพิจารณาพิพากษา 
ตามขอ ๙๙ แหงระเบียบของที่ประชุมใหญตุลาการในศาลปกครองสูงสุด วาดวยวิธีพิจารณา 
คดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๓  สําหรับขอหาที่สองขางตน ผูฟองคดีทั้งสองฟองวา ผูฟองคดีที่ ๑ 
เปนผูมีสิทธิครอบครองที่ดิน ๑ แปลง ตั้งอยูหมูที่ ๒ ตําบลกะรน อําเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต 
โดยซื้อมาจากนายประจวบ บุญชวย ซึ่งไดครอบครองและทําประโยชนในที่ดินกอนที่ 
ประมวลกฎหมายที่ดินใชบังคับ แตมิไดแจงการครอบครอง และผูฟองคดีไดครอบครอง 
ทําประโยชนในที่ดินดังกลาวรวมกับนายสุชาติ รักสงบ นางสายใจ ลักษณะมั่น นายประเสริฐ 
ชูภักดิ์ และนายยงยุทธ บุญทองคง ตอมาไดนําที่ดินดังกลาวไปขอออกหนังสือรับรอง 
การทําประโยชน (น.ส. ๓ ก.) ซึ่งเจาหนาที่ของสํานักงานที่ดินจังหวัดภูเก็ตไดปดประกาศ 
เรื่อง รังวัดออก น.ส. ๓ ก. ลงวันที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๓๖ แลว ไมมีผูใดคัดคาน แตยังไมมีการ 
ออก น.ส. ๓ ก. ให ตอมาผูฟองคดีที่ ๑ ไดมีหนังสือถึงผูถูกฟองคดีที่ ๒ แจงเปลี่ยนแปลงชื่อ 
เจาของที่ดินโดยขอใหออก น.ส. ๓ ก. ใหแกผูถือสิทธิครอบครองที่ดินจํานวน ๒ คน คือ  
ผูฟองคดีที่ ๑ ซึ่งถือสิทธิครอบครองที่ดินเนื้อที่ ๑๘ ไร ๒ งาน ๗๒ ตารางวา และผูฟองคดีที่ ๒ 
ถือสิทธิครอบครองที่ดินเนื้อที่ ๖ ไร ๒ งาน แตผูถูกฟองคดีที่ ๒ แจงผูฟองคดีที่ ๑ วา  
ไมสามารถออก น.ส. ๓ ก. ใหได เนื่องจากจังหวัดภูเก็ตมีสภาพเปนเกาะตองหามตามกฎกระทรวง 
ฉบับที่ ๔๓ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ออกตามความในพระราชบัญญัติใหใชประมวลกฎหมายที่ดิน 
พ.ศ. ๒๔๙๗ ผูฟองคดีที่ ๑ จึงไดยื่นหนังสือลงวันที่ ๑๑ มิถุนายน ๒๕๔๗ อุทธรณคําสั่ง 
ของผูถูกฟองคดีที่ ๒ วา ผูฟองคดีกับพวกไดยื่นคําขอออก น.ส. ๓ ก. ไวตั้งแตวันที่  
๒ พฤศจิกายน ๒๕๓๖ กอนมีการประกาศใชกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔๓ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ออกตาม 
ความในพระราชบัญญัติใหใชประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. ๒๔๙๗ ซึ่งผูวาราชการจังหวัดภูเก็ต 
ในฐานะผูพิจารณาอุทธรณไดมีหนังสือแจงผลการพิจารณาอุทธรณวา การที่ผูถูกฟองคดีที่ ๒ 
สั่งใหยุติเรื่องการขอออก น.ส. ๓ ก. ของผูฟองคดีทั้งสอง เปนการถูกตองแลว เนื่องจาก 
จังหวัดภูเก็ตมีสภาพเปนเกาะ จึงตองหามตามกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔๓ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ดังกลาว  
/มิใหออกหนังสือ… 


๓ 
มิใหออกหนังสือรับรองการทําประโยชนสําหรับที่ดินที่ไมมีหลักฐานแจงการครอบครอง 
(ส.ค. ๑) และกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔๓ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ดังกลาว ไมมีบทเฉพาะกาลรองรับ 
การออกหนังสือรับรองการทําประโยชนใหแกผูขอที่อยูในระหวางการดําเนินการของเจาหนาที 
่  
ผูฟองคดีทั้งสองเห็นวาผูฟองคดีทั้งสองไดซื้อและครอบครองทําประโยชนในที่ดินที่ขอออก 
น.ส. ๓ ก. ตอเนื่องมาจากบุคคลอื่นซึ่งครอบครองทําประโยชนกอนวันที่ประมวลกฎหมายที่ดิน 
ใชบังคับโดยมิไดแจงการครอบครอง และไดยื่นคําขอออกหนังสือรับรองการทําประโยชน 
เปนการเฉพาะรายเมื่อวันที่ ๒ พฤศจิกายน ๒๕๓๖ โดยดําเนินการรังวัดเสร็จครบถวน 
ตั้งแตกอนวันที่กฎกระทรวง ฉบับที่ ๔๓ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ออกตามความในพระราชบัญญัติ 
ใหใชประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. ๒๔๙๗ ใชบังคับ จึงเปนการกระทําที่สุจริต พื้นที่บนเกาะภูเก็ต 
สามารถที่จะออกเอกสารสิทธิเปนการเฉพาะรายตามมาตรา ๕๙ ทวิ แหงประมวลกฎหมายที่ดิน 
ไดโดยมิตองแจงการครอบครอง กฎหมายที่มีผลยอนหลังที่ไมเปนคุณแกประชาชนผูสุจริต 
ไมนาจะมีผลบังคับ ขัดตอเจตนารมณของกฎหมายและสิทธิของประชาชนตามรัฐธรรมนูญ 
  ขอใหศาลมีคําพิพากษามิใหนําขอ ๑๔ (๓) ของกฎกระทรวงขางตน 
มาใชบังคับแกกรณีของผูฟองคดีทั้งสอง และใหผูถูกฟองคดีทั้งสองดําเนินการออกหนังสือรับรอง 
การทําประโยชนแกผูฟองคดีทั้งสอง  
  ศาลปกครองชั้นตนพิจารณาแลวเห็นวา  การที่ผูถูกฟองคดีที่ ๒ ไมออก 
หนังสือรับรองการทําประโยชน (น.ส. ๓ ก.) โดยมิไดแจงการครอบครองใหแกผูฟองคดีทั้งสอง 
โดยอางวาเปนที่เขาและที่เกาะ ซึ่งมีประกาศกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ ๒๗ มีนาคม ๒๔๙๙ 
และวันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๒๑ และกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔๓ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ออกตามความใน 
พระราชบัญญัติใหใชประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. ๒๔๙๗ กําหนดหามมิใหออกเอกสาร 
แสดงสิทธิในที่ดิน จึงเปนการนําขอกฎหมายที่ไมถูกตองยกมาเปนเหตุปฏิเสธ ทั้งยังมิได 
ดําเนินการตามคําขอใหครบถวนตามหลักเกณฑเกี่ยวกับการออกโฉนดที่ดินและหนังสือรับรอง 
การทําประโยชนที่กรมที่ดินแจงเวียนใหถือปฏิบัติ จึงเปนการกระทําที่ไมชอบดวยกฎหมาย  
และขออางที่ผูถูกฟองคดีที่ ๒ ยกขึ้นตอสูคดีไมอาจหักลางใหการกระทําดังกลาวเปนการกระทํา 
ที่ชอบดวยกฎหมายได  ศาลปกครองชั้นตนจึงพิพากษาใหเพิกถอนหนังสือของผูถูกฟองคดีที่ ๒ 
ที่ ภก ๐๐๑๙.๓/๐๖๒๙๑ ลงวันที่ ๑๑ มิถุนายน ๒๕๔๗ ที่แจงตอผูฟองคดีที่ ๑ วาไมสามารถ 
ออก น.ส. ๓ ก. ในที่ดินตามคําขอใหได เนื่องจากสภาพที่ดินเปนที่เขาซึ่งเปนเขตหวงหาม 
ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย และจังหวัดภูเก็ตมีสภาพเปนเกาะตองหามมิใหออกโฉนดที่ดิน 
/หรือหนังสือ… 


๔ 
หรือหนังสือรับรองการทําประโยชนตามกฎกระทรวง ฉบับที่ ๔๓ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ออกตามความใน 
พระราชบัญญัติใหใชประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. ๒๔๙๗ และใหผูถูกฟองคดีที่ ๒ ดําเนินการ 
ตามหลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับการออกหนังสือรับรองการทําประโยชนใหถูกตองตอไป   
  ภายหลังที่ศาลปกครองชั้นตนไดมีคําพิพากษาคดีนี้เมื่อวันที่ ๒๙ กันยายน 
๒๕๕๑ แลว คูกรณีไมมีการอุทธรณคดีจึงถึงที่สุด ผูฟองคดีทั้งสองไดรวมกันยื่นคําขอสวมสิทธิ 
การรังวัดออกหนังสือรับรองการทําประโยชน (น.ส. ๓ ก.) เพื่อใหเปนไปตามคําพิพากษาของ 
ศาลปกครองชั้นตนตอเจาพนักงานที่ดินจังหวัดภูเก็ต แตปรากฏวามีผูยื่นคํารองคัดค 
านหลายราย 
เจาหนาที่จึงตองดําเนินการตรวจสอบเพื่อใหเปนไปตามระเบียบกฎหมายและคําพิพากษา 
ของศาลปกครองชั้นตน ขอเท็จจริงปรากฏวาผูถูกฟองคดีที่ ๒ ไดปฏิบัติเพื่อใหเปนไปตาม 
คําพิพากษาของศาลปกครองชั้นตนตอเนื่องเรื่อยมาและมีการรายงานความคืบหนาให 
ศาลปกครองชั้นตนทราบเปนระยะตามที่ศาลปกครองชั้นตนมีคําสั่ง ผลที่สุดผูถูกฟองคดีที่ ๒ 
ไดมีหนังสือ ที่ ภก ๐๐๑๙.๓/๑๕๓๕๒ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๕๒ แจงตอศาลปกครองชั้นตนวา 
บริเวณที่ดินที่ผูฟองคดีทั้งสองกับพวกขอออก น.ส. ๓ ก. จากการอานและแปลภาพถายทางอากาศ 
โดยผูเชี่ยวชาญของศาลยุติธรรมในทางวิเคราะหภาพถายทางอากาศและแผนที่จากระวางแผนที่ 
ภาพถายทางอากาศ มาตราสวน ๑ :  ๔๐๐๐ จังหวัดภูเก็ต ระวาง ๔๖๒๔ I ๒๒๖๒ มีสภาพ 
เปนปาไมผลัดใบ (F๑) ไมมีสภาพการทําประโยชนมากอนประมวลกฎหมายที่ดินใชบังคับ 
(วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๔๙๗) และเชื่อไดวาผูขอไดเขาครอบครองภายหลังประมวลกฎหมายที่ดิน 
ใชบังคับ จึงไมอยูในหลักเกณฑที่จะออก น.ส. ๓ ก. เปนการเฉพาะรายโดยไมไดแจง 
การครอบครองตามนัยมาตรา ๕๙ ทวิ แหงประมวลกฎหมายที่ดิน ได สํานักงานที่ดิน 
จังหวัดภูเก็ตจึงไดมีคําสั่งไมออก น.ส. ๓ ก. ใหผูฟองคดีทั้งสองกับพวกเมื่อวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๕๒ 
และไดแจงคําสั่งใหผูฟองคดีทั้งสองกับพวกทราบเพื่อใหโอกาสอุทธรณคําสั่งตามพระราชบัญญัติ 
วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ แลว ตุลาการเจาของสํานวนคดีนี้ของ 
ศาลปกครองชั้นตนจึงมีคําสั่ง “ยุติการบังคับคดี” เมื่อวันที่ ๒๘ ตุลาคม ๒๕๕๒ และใหแจง 
ผูฟองคดีทั้งสองทราบ 
  ผูฟองคดีที่ ๒ ยื่นคํารองอุทธรณคําสั่งของศาลปกครองชั้นตนที่มีคําสั่ง 
ยุติการบังคับคดี ความวา  ผูฟองคดีทั้งสองไมเห็นพองดวยกับคําสั่งของศาลปกครองชั้นตน 
ที่ใหยุติการบังคับคดี เนื่องจากคําขอออก น.ส. ๓ ก. ของผูฟองคดีทั้งสองไดผานขั้นตอน 
/การรังวัด… 


๕ 
การรังวัด การไตสวนสิทธิการทําประโยชนในที่ดินและมีประกาศแจก น.ส. ๓ ก. แกผูฟองคดีทั้งสอง 
ภายใน ๓๐ วัน แลว และไมมีผูใดคัดคาน เหลือเพียงขั้นตอนการลงนามใน น.ส. ๓ ก. ของ 
ผูถูกฟองคดีที่ ๒ เทานั้น ก็จะเสร็จสมบูรณแตเมื่อไมปรากฏขอเท็จจริงดังกลาวในคําพิพากษา 
ของศาลปกครองชั้นตนดังเชนในคดีหมายเลขดําที่ อ. ๒๖๐/๒๕๔๗ หมายเลขแดงที่ อ. ๖๑/๒๕๔๘ 
ทําใหในการปฏิบัติตามคําพิพากษาของศาลปกครองชั้นตน ผูถูกฟองคดีที่ ๒ มีการรับฟง 
ขอเท็จจริงใหมเกี่ยวกับการครอบครองทําประโยชนในที่ดินของผูฟองคดีทั้งสอง เปนเหตุให 
ผูฟองคดีทั้งสองไมไดรับความเปนธรรม ที่ดินของผูฟองคดีทั้งสองมีความลาดชันเกิน ๓๕ % 
เพียงประมาณ ๕ ไร เทานั้น ซึ่งกรมพัฒนาที่ดินไดทําเครื่องหมายไวแลว ที่ดินสวนใหญ 
มีความลาดชันเพียง ๑๒ % จึงสามารถออก น.ส. ๓ ก. ไดตามกฎหมาย คําพิพากษา 
ของศาลปกครองชั้นตนที่ระบุวาที่ดินของผูฟองคดีทั้งสองมิใชที่ดินที่ครอบครองตอเนื่อง 
กันมากอนประมวลกฎหมายที่ดินใชบังคับ และมีความลาดชันเกิน ๓๕ % หามมิใหออก น.ส. ๓ ก. นั้น 
จึงไมถูกตอง ขอใหศาลปกครองสูงสุดมีคําสั่งแกไขคําสั่งของศาลปกครองชั้นตนที่สั่งให 
ยุติการบังคับคดีโดยมีคําสั่งใหผูถูกฟองคดีที่ ๒ ดําเนินการออก น.ส. ๓ ก. ใหผูฟองคดีทั้งสอง 
และใหใชขอเท็จจริงเกี่ยวกับที่ดินของผูฟองคดีทั้งสองที่รับฟงไดในป พ.ศ. ๒๕๓๖  
ในการพิจารณาดําเนินการ 

 ศาลปกครองสูงสุดพิจารณาแลว คดีมีประเด็นที่จะตองวินิจฉัยในเบื้องตนวา 
การที่ศาลปกครองชั้นตนโดยตุลาการเจาของสํานวนมีคําสั่งยุติการบังคับคดีในคดีหมายเลขดํา 
ที่ ๑๕๔/๒๕๔๘ หมายเลขแดงที่ ๑๖๘/๒๕๕๑ ชอบหรือไม  
 พิเคราะหแลวเห็นวา  พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา 
คดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๗๐ วรรคหนึ่ง บัญญัติวา คําพิพากษาศาลปกครอง 
ใหผูกพันคูกรณีที่จะตองปฏิบัติตามคําบังคับนับแตวันที่กําหนดในคําพิพากษาจนถึงวันที่ 
คําพิพากษานั้นถูกเปลี่ยนแปลง แกไข กลับ หรืองดเสีย  วรรคสอง บัญญัติวา ในกรณีที่ 
เปนคําพิพากษาของศาลปกครองชั้นตนใหรอการปฏิบัติตามคําบังคับไวจนกวาจะ 
พนระยะเวลาการอุทธรณ หรือในกรณีที่มีการอุทธรณใหรอการบังคับคดีไวจนกวาคดี 
จะถึงที่สุด  ประกอบกับมาตรา ๗๒ แหงพระราชบัญญัติเดียวกันบัญญัติไววา ในกรณีที่ 
ศาลปกครองมีคําพิพากษาและกําหนดคําบังคับใหหนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐ 
ใชเงินหรือสงมอบทรัพยสิน หรือใหกระทําการหรืองดเวนกระทําการ หรือใหหัวหนา 
/หนวยงาน… 


๖ 
หนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐที่เกี่ยวของปฏิบัติหนาที่ภายในระยะเวลาที่ 
ศาลปกครองกําหนด หรือใหบุคคลกระทําหรือละเวนกระทําอยางหนึ่งอยางใดเพื่อใหเปนไป 
ตามกฎหมาย และเปนกรณีที่อาจบังคับคดีได หากปรากฏวาหัวหนาหนวยงานทางปกครอง 
หรือเจาหนาที่ของรัฐ หรือบุคคลดังกลาวไมปฏิบัติตามคําพิพากษาไมวาทั้งหมดหรือ 
แตบางสวน ก็จําตองมีการบังคับคดีเพื่อใหเปนไปตามคําพิพากษา โดยคูกรณีอีกฝายหนึ่ง 
อาจรองขอใหมีการบังคับคดีได ซึ่งการบังคับคดีพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและ 
วิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ บัญญัติใหนําบทบัญญัติวาดวยการบังคับคดี 
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงมาใชบังคับโดยอนุโลม กลาวคือ คูกรณีอีกฝาย 
หนึ่งสามารถรองขอตอศาลปกครองเพื่อใหมีการบังคับคดีตามคําพิพากษาหรือคําสั่งนั้น 
ไดภายในเวลาสิบปนับแตวันที่ศาลมีคําพิพากษาหรือคําสั่ง ถาศาลเห็นวาคูกรณีฝายที่ 
จะตองปฏิบัติตามคําบังคับไดรับทราบคําพิพากษาหรือคําสั่งแลว และระยะเวลาที่ศาล 
ไดกําหนดไวในคําบังคับเพื่อใหคูกรณีดังกลาวปฏิบัติตามคําพิพากษาหรือคําสั่งนั้น 
ไดลวงพนไปแลว และคําขอนั้นมีขอความระบุไวครบถวนตามที่กฎหมายกําหนด 
ศาลก็จะออกหมายบังคับคดีใหทันที โดยศาลจะแจงหมายบังคับคดีใหเจาหนาที่ของสํานักงาน 
ศาลปกครองที่มีหนาที่เกี่ยวของกับการบังคับคดีทราบเพื่อดําเนินการตอไปพรอมสงสําเนา 
หมายบังคับคดีใหคูกรณีฝายที่จะตองปฏิบัติตามคําบังคับทราบดวย  สําหรับคดีนี้ขอเท็จจริง 
ปรากฏวา ศาลปกครองชั้นตนมีคําพิพากษาใหเพิกถอนหนังสือของผูถูกฟองคดีที่ ๒ ลงวันที่ 
๑๑ มิถุนายน ๒๕๔๗ ที่ปฏิเสธคําขอออก น.ส. ๓ ก. ของผูฟองคดีที่ ๑ และใหผูถูกฟองคดีที่ ๒ 
ดําเนินการตามหลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับการออกหนังสือรับรองการทําประโยชน 
ใหถูกตองตอไป ภายหลังจากศาลไดมีคําพิพากษาแลวคูกรณีไมมีการอุทธรณ คดีจึงถึงที่สุด 
ผูฟองคดีทั้งสองไดรวมกันยื่นคําขอสวมสิทธิการรังวัดออก น.ส. ๓ ก. เพื่อใหเปนไปตามคําพิพากษา 
ตอผูถูกฟองคดีที่ ๒ แตปรากฏวามีผูยื่นคํารองคัดคานหลายราย เจาหนาที่จึงตองดําเนินการ 
ตรวจสอบขอเท็จจริงเพื่อใหเปนไปตามระเบียบกฎหมายและคําพิพากษาของศาล ผูถูกฟองคดีที่ ๒ 
ไดดําเนินการตามคําพิพากษาของศาลปกครองชั้นตนดังกลาวอยางตอเนื่องและ 
มีการรายงานความคืบหนาใหศาลทราบเปนระยะตามที่ศาลมีคําสั่งโดยที่ศาลก็ไดมีคําสั่งใหแจง 
ผูฟองคดีทั้งสองทราบดวยทุกครั้ง จนกระทั่งผู 
ถูกฟองคดีที่ ๒ มีหนังสือลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๕๒ 
แจงตอศาลวาไมสามารถดําเนินการออก น.ส. ๓ ก. ในที่ดินที่ผูฟองคดีทั้งสองมีคําขอได 
เนื่องจากการอานและแปลภาพถายทางอากาศจากระวางแผนที่ภาพถายทางอากาศ 
/ในบริเวณที่ดิน… 


๗ 
ในบริเวณที่ดินดังกลาวโดยผูเชี่ยวชาญของศาลยุติธรรมพบวา ที่ดินบริเวณที่ผูฟองคดีทั้งสอง 
ขอออก น.ส. ๓ ก. นั้น มีสภาพเปนปาไมผลัดใบ ไมมีสภาพการทําประโยชนมากอน 
ประมวลกฎหมายที่ดินใชบังคับ (วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๔๙๗) และเชื่อไดวาผูฟองคดีทั้งสอง 
ไดเขาครอบครองภายหลังประมวลกฎหมายที่ดินใชบังคับ จึงไมอยูในหลักเกณฑที่จะออก 
น.ส. ๓ ก. เปนการเฉพาะรายโดยไมไดแจงการครอบครองตามนัยมาตรา ๕๙ ทวิ แหง 
ประมวลกฎหมายที่ดิน ได จึงมีคําสั่งไมออก น.ส. ๓ ก. ใหผูฟองคดีทั้งสองกับพวกเมื่อวันที่ 
๑๒ ตุลาคม ๒๕๕๒ และไดแจงคําสั่งดังกลาวใหผูฟองคดีทั้งสองกับพวกทราบแลว 
ขอเท็จจริงปรากฏในสํานวนคดีวาผูถูกฟองคดีที่ ๒ มีหนังสือแจงคําสั่งดังกลาวให 
ผูฟองคดีทั้งสองและผูคัดคานการขอสวมสิทธิรังวัดออก น.ส. ๓ ก. ของผูฟองคดีทั้งสอง 
ทุกรายทราบตามหนังสือสํานักงานที่ดินจังหวัดภูเก็ต ที่ ภก ๐๐๑๙.๓/(๒๒๕๓๖) ๑๕๓๕๓, 
ที่ ภก ๐๐๑๙.๓/(๒๒๕๓๗) ๑๕๓๕๔, ที่ ภก ๐๐๑๙.๓/(๒๒๕๓๘) ๑๕๓๕๕, ที่ ภก ๐๐๑๙.๓/(๒๒๕๓๙) 
๑๕๓๕๖, ที่ ภก ๐๐๑๙.๓/(๒๒๕๔๐) ๑๕๓๕๗, ที่ ภก ๐๐๑๙.๓/(๒๒๕๔๑) ๑๕๓๕๘  
ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๕๒ และ ที่ ภก ๐๐๑๙.๓/๒๒๖๖๑ ลงวันที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๕๒  
จากขอเท็จจริงดังกลาวขางตน ยอมถือไดวาเปนกรณีที่ผูถูกฟองคดีที่ ๒ ยินยอมปฏิบัติ 
ตามคําพิพากษาของศาลปกครองชั้นตนโดยถูกตองครบถวนแลว หนังสือของผูถูกฟองคดีที่ ๒ 
ที่ ภก ๐๐๑๙.๓/๑๕๓๕๒ ลงวันที่  ๑๒ ตุลาคม ๒๕๕๒ แจงเรื่องการดําเนินการตามคําพิพากษา 
ของศาลปกครองชั้นตนตออธิบดีศาลปกครองชั้นตนดังกลาว จึงเปนการรายงานผลการปฏิบัติ 
ตามคําพิพากษาตามที่ศาลปกครองชั้นตนไดมีคําบังคับใหผูถูกฟองคดีที่ ๒ ดําเนินการ 
ตามหลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับการออกหนังสือรับรองการทําประโยชนใหถูกตองตอไป  
การที่ศาลปกครองชั้นตนโดยตุลาการเจาของสํานวนมีคําสั่งยุติการบังคับคดีตามคําพิพากษา 
เมื่อไดรับหนังสือการรายงานผลการปฏิบัติตามคําพิพากษาดังกลาว จึงเปนคําสั่งที่ชอบดวย 
กระบวนวิธีพิจารณาคดีแลว ที่ผูฟองคดีทั้งสองอุทธรณโตแยงคําพิพากษาของศาลปกครองชั้นตน 
และขอใหศาลปกครองสูงสุดมีคําสั่งใหผูถูกฟองคดีที่ ๒ ดําเนินการออก น.ส. ๓ ก. ใหผูฟองคดีทั้งสอง 
ตามคําขอนั้นไมอาจรับฟงได  อยางไรก็ตาม คําสั่งของผูถูกฟองคดีที่ ๒ เมื่อวันที่ ๑๒ ตุลาคม 
๒๕๕๒ ที่ไมออก น.ส. ๓ ก. ใหผูฟองคดีทั้งสองและผูคัดคานทุกรายตามคําขอถือเปน 
คําสั่งทางปกครองคําสั่งใหมที่มีผลกระทบตอสถานภาพของสิทธิหรือหนาที่ของผูฟองคดีทั้งสอง 
และผูคัดคานดังกลาว ซึ่งหากเห็นวาคําสั่งดังกลาวไมถูกตอง ไมชอบดวยกฎหมาย ผูฟองคดีทั้งสอง 
และผูคัดคานทุกรายก็ชอบที่จะใชสิทธิอุทธรณโตแยงคําสั่งดังกลาวไดตอไปตามนัยมาตรา ๔๔ 
/แหงพระราชบัญญัติ 
… 


๘ 
แหงพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ และเมื่อไดรับทราบผลการ 
วินิจฉัยอุทธรณคําสั่งดังกลาวแลว หากยังไมพอใจในผลการวินิจฉัยอุทธรณ ผูฟองคดีทั้งสอง 
และผูคัดคานทุกรายที่ยื่นอุทธรณคําสั่งก็ชอบที่จะใชสิทธิฟองคดีตอศาลปกครองที่มีเขตอํานาจ 
ไดตอไปตามเงื่อนไขที่กฎหมายกําหนด   
  จึงมีคําสั่งยืนตามคําสั่งของศาลปกครองชั้นตน 

นายนพดล  เฮงเจริญ         ตุลาการเจาของสํานวน 
ตุลาการศาลปกครองสูงสุด 

นายหัสวุฒิ  วิฑิตวิริยกุล 
ตุลาการหัวหนาคณะศาลปกครองสูงสุด 

นายไพบูลย  เสียงกอง 
ตุลาการศาลปกครองสูงสุด 

นายวรวิทย  กังศศิเทียม 
ตุลาการศาลปกครองสูงสุด 

นายวราวุธ  ศิริยุทธวัฒนา 
ตุ 
ลาการศาลปกครองสูงสุด 

วันที่อาน 
ธนวรรณ : ผูพิมพ 

วันเสาร์ที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2553

รัฐธรรมนูญกำหนดหากกระการอันเป็นการจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลจะต้องอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย

   .....เป็นเหตุให้วิธีการปฏิบัติในกรณี....ออกเอกสารสิทธิในที่ดินของรัฐที่ผ่านมาเอาเข้ากรรมการ ..กบร..ก่อนออกให้อาศัยวิธีการแปลภาพถ่าย....จึงขัดด้วยหลักกฎหมายรัฐธรรมนูญ...จึงต้องมีการแก้ไขเพิ่มเติม .ที่ดิน..ตามฉบับที่11 โดยเพิ่ม มาตรา56/1...ก่อนออกเอกสารสิทธิในที่ดินของรัฐต้องตรวจสอบกับภาพถ่ายทางอากาศก่อน...ตามที่อธิบดี วางระเบียบกำหนด............แต่ถ้าไม่ได้ออกในที่ดินของรัฐจึงไม่ต้องปฏิบัติเป็นไปตามขั้นตอนของระเบียบที่อธิบดีกำหนด....

วันพฤหัสบดีที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2553


คำตอบคำตอบ
                         กรณีตามคำถาม แผนที่ภาพถ่ายทางอากาศ หมายถึง รูปถ่ายทางอากาศซึ่งได้จากการบินถ่าย
ภาพทางอากาศในพื้นที่บริเวณใดบริเวณหนึ่งเพื่อใช้ผลิตระวางแผนที่รูปถ่ายทางอากาศหรือระวางรูปถ่าย
ทางอากาศ  โดยกรมที่ดินจัดสร้างระวางดังกล่าว ๓ ประเภท กล่าวคือ
               ๑. ระวางรูปถ่ายทางอากาศ มาตราส่วน ๑ :  ๕,๐๐๐ เพื่อใช้ออกหนังสือรับรองการทำประโยชน์ (น.ส.๓ ก.)
               ๒. ระวางแผนที่รูปถ่ายทางอากาศ ซึ่งได้ปรับแก้ความเอียงของพื้นผิวโลกแล้ว มาตราส่วน
 :  ๔,๐๐๐ เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสกว้างยาวในภูมิประเทศด้านละ ๕๐ เส้น หรือ ๒ กิโลเมตร เป็น ๑ ระวาง โดยถือ ระวางแผนที่มาตราส่วน ๑ ๔,๐๐๐ เป็นมาตรฐาน ดังนั้น ระวางแผนที่ จึงมีขนาดกรอบกว้างและยาวด้านละ ๕๐ เซนติเมตร  มาตราส่วนของระวางแผนที่อาจขยายให้ใหญ่ขึ้นอีกตามความเหมาะสม ใช้ในการออกโฉนดที่ดิน
                 ๓. ระวางแผนที่รูปถ่ายทางอากาศ มาตราส่วน ๑ :  ๑,๐๐๐ เพื่อใช้ปรับปรุงระวางแผนที่

และเมื่อประกาศใช้มาตรา ๕๖/๑ แห่งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายที่ดิน (ฉบับที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๕๑  ซึ่งกำหนดไว้ว่า การออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ ถ้าเป็นที่ดินที่มีอาณาเขตติดต่อคาบเกี่ยวหรืออยู่ในท้องที่เขตที่ดินของรัฐที่มีระวางแผนที่รูปถ่ายทางอากาศหรือระวางรูปถ่ายทางอากาศ พนักงานเจ้าหน้าที่จะออกให้ได้ต่อเมื่อตรวจสอบกับระวางแผนที่
รูปถ่ายทางอากาศฉบับที่ทำขึ้นก่อนสุดเท่าที่ทางราชการมีอยู่แล้วว่า เป็นที่ดินที่สามารถออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ได้…”  กล่าวคือ ไม่ต้องอ่านแปลภาพทุกแปลง จะอ่านแปลเฉพาที่ดินที่มีอาณาเขตติดต่อคาบเกี่ยวหรืออยู่ในเขตที่ดินของรัฐ เท่านั้น  ซึ่ง ที่ดินของรัฐ หมายถึง ที่ดินสาธารณ-สมบัติของแผ่นดินสำหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน  ที่สงวนหวงห้ามตามประมวลกฎหมายที่ดินและกฎหมายอื่น ที่ดินที่คณะรัฐมนตรีสงวนไว้เพื่อรักษาทรัพยากรธรรมชาติหรือเพื่อประโยชน์สาธารณะอย่างอื่น เช่น ที่เลี้ยงสัตว์สาธารณประโยชน์ ที่ราชพัสดุ ป่าสงวนแห่งชาติ อุทยาน-แห่งชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า  เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขตป่าไม้ถาวร เป็นต้น

               ขั้นตอนการดำเนินการตามมาตรา ๕๖/๑ ฯ นั้น จึงต้องมีการตรวจสอบที่ดินกับระวางแผนที่รูปถ่ายทางอากาศ หรือระวางรูปถ่ายทางอากาศ แล้วแต่กรณี หรือการตรวจสอบด้วยวิธีอื่น ซึ่งกรมที่ดินได้กำหนดระเบียบ ว่าด้วยการตรวจสอบที่ดินเพื่อออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ กรณีเป็นที่ดินที่มีอาณาเขตติดต่อคาบเกี่ยวกับหรืออยู่ในเขตที่ดินของรัฐด้วยวิธีอื่น พ.ศ. ๒๕๕๑ ไว้ดังนี้
ข้อ ๖ ในการนำหลักฐานที่ดินเดิมมาดำเนินการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ ตามมาตรา ๕๘ ทวิ วรรคสอง (๑) และมาตรา ๕๙ แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ดำเนินการ ดังนี้
                   (๑) ตรวจสอบหลักฐานที่ดินเดิมและหลักฐานทางทะเบียนที่ดินว่าผู้ขอเป็นผู้มีสิทธิในที่ดิน    
                                                                                                                               /และ
                                                                   -๒-

และหลักฐานที่ดินเดิมดังกล่าวถูกต้องตรงตามหลักฐานที่ทางราชการมีอยู่หรือไม่ ประการใด โดยบันทึกการตรวจสอบไว้ในเรื่องราวด้วย
                   (๒) ตรวจสอบว่าที่ดินข้างเคียงทุกด้านถูกต้องตรงกับหลักฐานที่ดินเดิมที่นำมาแสดงหรือไม่ โดยตรวจสอบเบื้องต้นเกี่ยวกับระยะแนวเขตที่ดินและให้เจ้าหน้าที่บันทึกถ้อยคำเจ้าของที่ดิน เจ้าของที่ดินข้างเคียง ตลอดจนผู้ปกครองท้องที่ไว้เป็นหลักฐาน หากมีความแตกต่างหรือเปลี่ยนแปลงไป รวมทั้งบันทึกเหตุแห่งความแตกต่างหรือเปลี่ยนแปลงไว้ให้ชัดเจนว่าเป็นเพราะเหตุใด มีความเกี่ยวเนื่องกับที่ดินข้างเคียงตามที่แจ้งไว้ในหลักฐานเดิมอย่างไร ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงเขตการปกครองในพื้นที่นั้น ให้บันทึกการเปลี่ยนแปลงให้ชัดเจนพร้อมแนบหลักฐานการเปลี่ยนแปลงเขตการปกครอง (ถ้ามี) ไว้ในเรื่องด้วย
                   (๓) ตรวจสอบสภาพการทำประโยชน์ว่ามีความเป็นไปได้ตรงกับที่ได้แจ้งในหลักฐานที่นำมาแสดงในการขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์หรือไม่ เช่น ในหลักฐานที่ดินเดิมแจ้งสภาพการทำประโยชน์เป็นที่นา แต่ที่ดินที่นำทำการตรวจสอบเป็นที่ป่าชายเลนซึ่งใช้ประโยชน์ในการทำนาไม่ได้ อันเป็นเหตุให้สงสัยได้ว่าที่ดินที่นำทำการตรวจสอบนั้นเป็นที่ดินไม่ตรงตามหลักฐานที่ดินเดิม เป็นต้น
                   (๔) กรณีที่ชื่อผู้ขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ไม่ตรงกับชื่อในหลักฐานที่ดินเดิมที่ผู้ขอนำมายื่นขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ ให้สอบสวนและบันทึกถ้อยคำผู้ขอ ผู้ปกครองท้องที่และผู้ที่เชื่อถือได้ ว่ามีการครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินต่อเนื่องมาจากผู้มีชื่อในหลักฐานที่ดินเดิมอย่างไร  ตั้งแต่เมื่อใด
                   (๕) กรณีที่มีเหตุอันสมควรสงสัยเป็นอย่างยิ่งว่าที่ดินที่ขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์อาจไม่ตรงกับหลักฐานที่ผู้ขอนำมาแสดง ให้เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัด เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดสาขา เจ้าพนักงานที่ดินหัวหน้าส่วนแยก นายอำเภอ ปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอ หรือผู้อำนวยการศูนย์เดินสำรวจ แล้วแต่กรณี  ดำเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการอย่างน้อย ๓ คน เพื่อพิจารณาตรวจสอบสภาพที่ดินและการครอบครองทำประโยชน์เพื่อให้ได้ข้อเท็จจริงว่า ที่ดินที่ขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์เป็นที่ดินที่ตรงตำแหน่งตามหลักฐานที่ผู้ขอนำมาแสดงหรือไม่ อย่างไร มีหลักฐานใดประกอบในการตรวจสอบ เมื่อตรวจสอบแล้วให้คณะกรรมการรายงานผลต่อผู้แต่งตั้งเพื่อประกอบการพิจารณาดำเนินการให้แก่ผู้ขอต่อไป
               ข้อ ๗ หากการดำเนินการตามข้อ ๖ ยังไม่ได้ข้อยุติว่าที่ดินที่ขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ตรงตามหลักฐานที่ผู้ขอนำมาแสดง และเป็นที่ดินที่อยู่ในหลักเกณฑ์ที่จะออก
โฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ได้ ให้ดำเนินการตรวจสอบกับระวางแผนที่รูปถ่ายทางอากาศ
 
                                                                                                                 /หรือ

 -๓-

ระวางรูปถ่ายทางอากาศฉบับที่ทำขึ้นก่อนสุดเท่าที่ทางราชการมีอยู่ โดยตรวจสอบกับแผนที่ภาพถ่าย
ทางอากาศของกรมแผนที่ทหารว่าเป็นที่ดินที่สามารถออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ได้หรือไม่

               สำหรับกรณีที่ดินของท่านมีเพียงหลักฐาน ภ.บ.ท. ๕  ถือว่าเป็นที่ดินที่ไม่มีหลักฐานสำหรับที่ดิน
ถ้ามีหลักฐานพิสูจน์ได้ว่า ท่านได้ครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินมาก่อนวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๔๙๗ และไม่เป็น
ที่ป่าไม้ , ที่ ส.ป.ก. หรือที่สงวนหวงห้ามอื่น สามารถขอออกโฉนดที่ดินเป็นการเฉพาะราย โดยมิได้แจ้งการครอบครอง ตามมาตรา ๕๙ ทวิ แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน โดยยื่นคำขอ ณ สำนักงานที่ดินจังหวัดนครราชสีมา โทร. ๐-๔๔๒๔-๒๑๕๑ , ๐-๔๔๒๔-๔๓๕๓  หรือโดยการเดินสำรวจออกโฉนดที่ดิน แต่ถ้าท่านได้ครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินภายหลังวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๔๙๗  สามารถออกโฉนดที่ดินได้โดยการเดินสำรวจออก
โฉนดที่ดินได้เพียงวิธีเดียว ซึ่งสามารถแจ้งความประสงค์ได้ที่ศูนย์อำนวยการเดินสำรวจออกโฉนดที่ดินจังหวัด
นครราชสีมา ซึ่งจะตั้งสถานที่ทำการเป็นการชั่วคราวในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓ ประมาณวันที่ ๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๒ ซึ่งท่านสามารถติดต่อขอทราบรายละเอียดที่ตั้งของศูนย์อำนวยการเดินสำรวจออกโฉนดที่ดิน
จังหวัดนครราชสีมาได้ที่ โทร. ๐๘  ๑๘๒๔  ๙๕๓๗ หรือที่สำนักงานที่ดินจังหวัดนครราชสีมา โทร.
๐-๔๔๒๔-๒๑๕๑ , ๐-๔๔๒๔-๔๓๕๓ 

                         กรณีตามคำถาม แผนที่ภาพถ่ายทางอากาศ หมายถึง รูปถ่ายทางอากาศซึ่งได้จากการบินถ่าย
ภาพทางอากาศในพื้นที่บริเวณใดบริเวณหนึ่งเพื่อใช้ผลิตระวางแผนที่รูปถ่ายทางอากาศหรือระวางรูปถ่าย
ทางอากาศ  โดยกรมที่ดินจัดสร้างระวางดังกล่าว ๓ ประเภท กล่าวคือ
               ๑. ระวางรูปถ่ายทางอากาศ มาตราส่วน ๑ :  ๕,๐๐๐ เพื่อใช้ออกหนังสือรับรองการทำประโยชน์ (น.ส.๓ ก.)
               ๒. ระวางแผนที่รูปถ่ายทางอากาศ ซึ่งได้ปรับแก้ความเอียงของพื้นผิวโลกแล้ว มาตราส่วน
 :  ๔,๐๐๐ เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสกว้างยาวในภูมิประเทศด้านละ ๕๐ เส้น หรือ ๒ กิโลเมตร เป็น ๑ ระวาง โดยถือ ระวางแผนที่มาตราส่วน ๑ ๔,๐๐๐ เป็นมาตรฐาน ดังนั้น ระวางแผนที่ จึงมีขนาดกรอบกว้างและยาวด้านละ ๕๐ เซนติเมตร  มาตราส่วนของระวางแผนที่อาจขยายให้ใหญ่ขึ้นอีกตามความเหมาะสม ใช้ในการออกโฉนดที่ดิน
                 ๓. ระวางแผนที่รูปถ่ายทางอากาศ มาตราส่วน ๑ :  ๑,๐๐๐ เพื่อใช้ปรับปรุงระวางแผนที่

และเมื่อประกาศใช้มาตรา ๕๖/๑ แห่งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายที่ดิน (ฉบับที่ ๑๑) พ.ศ. ๒๕๕๑  ซึ่งกำหนดไว้ว่า การออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ ถ้าเป็นที่ดินที่มีอาณาเขตติดต่อคาบเกี่ยวหรืออยู่ในท้องที่เขตที่ดินของรัฐที่มีระวางแผนที่รูปถ่ายทางอากาศหรือระวางรูปถ่ายทางอากาศ พนักงานเจ้าหน้าที่จะออกให้ได้ต่อเมื่อตรวจสอบกับระวางแผนที่
รูปถ่ายทางอากาศฉบับที่ทำขึ้นก่อนสุดเท่าที่ทางราชการมีอยู่แล้วว่า เป็นที่ดินที่สามารถออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ได้…”  กล่าวคือ ไม่ต้องอ่านแปลภาพทุกแปลง จะอ่านแปลเฉพาที่ดินที่มีอาณาเขตติดต่อคาบเกี่ยวหรืออยู่ในเขตที่ดินของรัฐ เท่านั้น  ซึ่ง ที่ดินของรัฐ หมายถึง ที่ดินสาธารณ-สมบัติของแผ่นดินสำหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน  ที่สงวนหวงห้ามตามประมวลกฎหมายที่ดินและกฎหมายอื่น ที่ดินที่คณะรัฐมนตรีสงวนไว้เพื่อรักษาทรัพยากรธรรมชาติหรือเพื่อประโยชน์สาธารณะอย่างอื่น เช่น ที่เลี้ยงสัตว์สาธารณประโยชน์ ที่ราชพัสดุ ป่าสงวนแห่งชาติ อุทยาน-แห่งชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า  เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขตป่าไม้ถาวร เป็นต้น

               ขั้นตอนการดำเนินการตามมาตรา ๕๖/๑ ฯ นั้น จึงต้องมีการตรวจสอบที่ดินกับระวางแผนที่รูปถ่ายทางอากาศ หรือระวางรูปถ่ายทางอากาศ แล้วแต่กรณี หรือการตรวจสอบด้วยวิธีอื่น ซึ่งกรมที่ดินได้กำหนดระเบียบ ว่าด้วยการตรวจสอบที่ดินเพื่อออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ กรณีเป็นที่ดินที่มีอาณาเขตติดต่อคาบเกี่ยวกับหรืออยู่ในเขตที่ดินของรัฐด้วยวิธีอื่น พ.ศ. ๒๕๕๑ ไว้ดังนี้
ข้อ ๖ ในการนำหลักฐานที่ดินเดิมมาดำเนินการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ ตามมาตรา ๕๘ ทวิ วรรคสอง (๑) และมาตรา ๕๙ แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ดำเนินการ ดังนี้
                   (๑) ตรวจสอบหลักฐานที่ดินเดิมและหลักฐานทางทะเบียนที่ดินว่าผู้ขอเป็นผู้มีสิทธิในที่ดิน    
                                                                                                                               /และ
                                                                   -๒-

และหลักฐานที่ดินเดิมดังกล่าวถูกต้องตรงตามหลักฐานที่ทางราชการมีอยู่หรือไม่ ประการใด โดยบันทึกการตรวจสอบไว้ในเรื่องราวด้วย
                   (๒) ตรวจสอบว่าที่ดินข้างเคียงทุกด้านถูกต้องตรงกับหลักฐานที่ดินเดิมที่นำมาแสดงหรือไม่ โดยตรวจสอบเบื้องต้นเกี่ยวกับระยะแนวเขตที่ดินและให้เจ้าหน้าที่บันทึกถ้อยคำเจ้าของที่ดิน เจ้าของที่ดินข้างเคียง ตลอดจนผู้ปกครองท้องที่ไว้เป็นหลักฐาน หากมีความแตกต่างหรือเปลี่ยนแปลงไป รวมทั้งบันทึกเหตุแห่งความแตกต่างหรือเปลี่ยนแปลงไว้ให้ชัดเจนว่าเป็นเพราะเหตุใด มีความเกี่ยวเนื่องกับที่ดินข้างเคียงตามที่แจ้งไว้ในหลักฐานเดิมอย่างไร ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงเขตการปกครองในพื้นที่นั้น ให้บันทึกการเปลี่ยนแปลงให้ชัดเจนพร้อมแนบหลักฐานการเปลี่ยนแปลงเขตการปกครอง (ถ้ามี) ไว้ในเรื่องด้วย
                   (๓) ตรวจสอบสภาพการทำประโยชน์ว่ามีความเป็นไปได้ตรงกับที่ได้แจ้งในหลักฐานที่นำมาแสดงในการขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์หรือไม่ เช่น ในหลักฐานที่ดินเดิมแจ้งสภาพการทำประโยชน์เป็นที่นา แต่ที่ดินที่นำทำการตรวจสอบเป็นที่ป่าชายเลนซึ่งใช้ประโยชน์ในการทำนาไม่ได้ อันเป็นเหตุให้สงสัยได้ว่าที่ดินที่นำทำการตรวจสอบนั้นเป็นที่ดินไม่ตรงตามหลักฐานที่ดินเดิม เป็นต้น
                   (๔) กรณีที่ชื่อผู้ขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ไม่ตรงกับชื่อในหลักฐานที่ดินเดิมที่ผู้ขอนำมายื่นขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ ให้สอบสวนและบันทึกถ้อยคำผู้ขอ ผู้ปกครองท้องที่และผู้ที่เชื่อถือได้ ว่ามีการครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินต่อเนื่องมาจากผู้มีชื่อในหลักฐานที่ดินเดิมอย่างไร  ตั้งแต่เมื่อใด
                   (๕) กรณีที่มีเหตุอันสมควรสงสัยเป็นอย่างยิ่งว่าที่ดินที่ขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์อาจไม่ตรงกับหลักฐานที่ผู้ขอนำมาแสดง ให้เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัด เจ้าพนักงานที่ดินจังหวัดสาขา เจ้าพนักงานที่ดินหัวหน้าส่วนแยก นายอำเภอ ปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอ หรือผู้อำนวยการศูนย์เดินสำรวจ แล้วแต่กรณี  ดำเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการอย่างน้อย ๓ คน เพื่อพิจารณาตรวจสอบสภาพที่ดินและการครอบครองทำประโยชน์เพื่อให้ได้ข้อเท็จจริงว่า ที่ดินที่ขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์เป็นที่ดินที่ตรงตำแหน่งตามหลักฐานที่ผู้ขอนำมาแสดงหรือไม่ อย่างไร มีหลักฐานใดประกอบในการตรวจสอบ เมื่อตรวจสอบแล้วให้คณะกรรมการรายงานผลต่อผู้แต่งตั้งเพื่อประกอบการพิจารณาดำเนินการให้แก่ผู้ขอต่อไป
               ข้อ ๗ หากการดำเนินการตามข้อ ๖ ยังไม่ได้ข้อยุติว่าที่ดินที่ขอออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ตรงตามหลักฐานที่ผู้ขอนำมาแสดง และเป็นที่ดินที่อยู่ในหลักเกณฑ์ที่จะออก
โฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ได้ ให้ดำเนินการตรวจสอบกับระวางแผนที่รูปถ่ายทางอากาศ
 
                                                                                                                 /หรือ

 -๓-

ระวางรูปถ่ายทางอากาศฉบับที่ทำขึ้นก่อนสุดเท่าที่ทางราชการมีอยู่ โดยตรวจสอบกับแผนที่ภาพถ่าย
ทางอากาศของกรมแผนที่ทหารว่าเป็นที่ดินที่สามารถออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ได้หรือไม่

               สำหรับกรณีที่ดินของท่านมีเพียงหลักฐาน ภ.บ.ท. ๕  ถือว่าเป็นที่ดินที่ไม่มีหลักฐานสำหรับที่ดิน
ถ้ามีหลักฐานพิสูจน์ได้ว่า ท่านได้ครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินมาก่อนวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๔๙๗ และไม่เป็น
ที่ป่าไม้ , ที่ ส.ป.ก. หรือที่สงวนหวงห้ามอื่น สามารถขอออกโฉนดที่ดินเป็นการเฉพาะราย โดยมิได้แจ้งการครอบครอง ตามมาตรา ๕๙ ทวิ แห่งประมวลกฎหมายที่ดิน โดยยื่นคำขอ ณ สำนักงานที่ดินจังหวัดนครราชสีมา โทร. ๐-๔๔๒๔-๒๑๕๑ , ๐-๔๔๒๔-๔๓๕๓  หรือโดยการเดินสำรวจออกโฉนดที่ดิน แต่ถ้าท่านได้ครอบครองและทำประโยชน์ในที่ดินภายหลังวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๔๙๗  สามารถออกโฉนดที่ดินได้โดยการเดินสำรวจออก
โฉนดที่ดินได้เพียงวิธีเดียว ซึ่งสามารถแจ้งความประสงค์ได้ที่ศูนย์อำนวยการเดินสำรวจออกโฉนดที่ดินจังหวัด
นครราชสีมา ซึ่งจะตั้งสถานที่ทำการเป็นการชั่วคราวในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓ ประมาณวันที่ ๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๒ ซึ่งท่านสามารถติดต่อขอทราบรายละเอียดที่ตั้งของศูนย์อำนวยการเดินสำรวจออกโฉนดที่ดิน
จังหวัดนครราชสีมาได้ที่ โทร. ๐๘  ๑๘๒๔  ๙๕๓๗ หรือที่สำนักงานที่ดินจังหวัดนครราชสีมา โทร.
๐-๔๔๒๔-๒๑๕๑ , ๐-๔๔๒๔-๔๓๕๓ 



ระเบียบคณะกรรมการจัดที่ดินเเห่งชาติฉบับที่ 12



ข้อกฎหมาย

Item Thumbnail



Item Thumbnail


Item Thumbnail




มาตรา59ตรี หากเนื้อที่ใหม่ต่างจาก ส.ค.๑ให้ออกเท่าที่ทำประโยชน์โดยปฏิบัติไปตาม ระเบียบคณะกรรมการจัดฯ ฉ.12..ซึ่งระบุว่าถ้าออกตาม 59ตรี มีระยะและข้างเคียงตรงตาม ส.ค.๑ ออกเท่าที่ทำประโยชน์แล้วแต่ไม่เกินจำนวนที่คำนวณได้...ตรงนี้ไม่โอกาสเป็นไปไม่ได้ ระยะกว้างยาวอย่างละเส้น วัดใหม่ได้อย่างละเส้น ข้างเคียงตรงกับ ส.ค.๑ ออกได้เลย 1 ไร่ แต่ถ้าทำประโยชน์แล้วคำนวณได้แค่2งาน ก็ให้ออกได้แค่2งาน ส่วนที่เหลืออีก2งานไม่ออกให้....จึงมีขยักที่สอง...หากระยะผิดพลาดคลาดเคลื่อน...ออกเท่าที่ทำประโยชน์โดยต้องมีการรับรองเขตครบ....คำว่ารับรองเขตครบเป็นอย่างไร ได้ขยายความไว้ใน

ข้อ9 ของระเบียบฯ....จดป่าหรือที่รกร้างว่างเปล่า...ใช้ระยะเป็นหลัก....เพราะไม่สามารถพิสูจน์ไปได้ไกลขนาดใหนถึงจะถึงป่าหรือที่รกร้างว่างเปล่า เท่ากับในขณะที่แจ้ง.....ซึ่งก่อให้เกิดสิทธิตาม ป.ที่ดินเท่ากับขณะที่แจ้ง..ส่วนที่ไม่ได้แจ้ง ไม่ก่อให้เกิดสิทธิ "คำว่าออกโฉนดต้องมีการรับรองเขตให้ครบ แล้วขยายคำว่าครบเป็นอย่างไรนั้น" เลยถูกนำมาใช้ทุกกรณี....โดยคิดว่าเป็นวิธีที่ปลอดภัยถูกต้องแล้ว....และก็รักษาสิทธิให้ข้างเคียงจัง....ทำให้ข้างเคียงหรือทุกส่วน มองเป็นหน้าที่ของที่ดินไปเสียแล้ว


Item Thumbnail

ดูชัดๆเลยครับ 12 ข้อ 10 กรณีที่ด้านใหนติดป่าหรือที่รกร้างว่างเปล่า

ความหมายน่าจะพูดถึงที่ดินที่จดที่ว่างเปล่าบนข้อเท็จจริงตามปัจุบัน ไม่ใช้ในสค1ระบุอย่างไรก็ถือตามนั้น กรมที่ดินควรตั้งกรรมการขึ้นมาสอบสวนเพื่อหาข้อเท็จจริงเพื่อหาข้อยุติในการบริการประชาชน



Item Thumbnail


ท่านอธิบดีครับฉ12ข้อ8 วรรค 2 กรมสั่งไม่ให้ใช้หรือครับ


ระเบียบคณะกรรมการจัดที่ดินเเห่งชาติฉบับที่ 12 ข้อ 8 วรรค 2

กรณีที่ระยะเเนวเขคผิดพลาดคลาดเคลื่อน ให้พนักงานที่ออกโฉนดหรือหนังสือรับรองการทําประโยชน์เท่าจํานวนเนื้อที่ได้ทําประโยชน์เเล้วเมื่อผู้มีสิทธิ์ในที่ดินข้างเคียงได้ลงชื่อรับรองเเนวเขตไว้เป็นการถูกต้องครบถ้วนทุกด้าน